วารสาร เมืองโบราณ
Muang Boran Journal
หน้าปกวารสาร เมืองโบราณ ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๔๒ปีที่ ๒๕ ฉบับ ๔ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๔๒
ISSN 0125-426X Vol. 25 No. 4 October-December 1999
วารสารวิชาการรายสามเดือน เพื่อการอนุรักษ์มรดกไทย ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะ และวัฒนธรรม
พิพิธภัณฑ์ : ของต้องแสดงและการซ่อนเร้น (ราคา ๑๒๐ บาท)

สารบัญ
นครวัดในความคิด ของคนตะวันตก กับตะวันออก
ก่อนจะถึงวันนี้ ของพิพิธภัณฑ์ สถานไทย... ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง
ภาพคณะทูตฝรั่งเศษ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าวเจ้าอยู่หัว (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
พิพิธภัณฑ์ :
สิ่งของต้องแสดง และการปกปิดซ่อนเร้น... สุดแดน วิสุทธิลักษณ์

Museum : Exposition and Concealment... Suddan Wisudthiluck

(คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
วามสนุกในวัดเบญจมบพิตร : เครื่องโต๊ะ มิวเซียม และสยามใหม่... ศรัณย์ ทองปาน

Cult of Collection : Siam as a Modern Buddhist State... Sran Tongpan

ชมพิพิธภัณฑ์อย่างไร ให้ได้สาระ... อุษา ง้วนเพียรภาค
การจัดแสดงภายในอาคารพิพิธภัณฑ์ สังคโลก (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
พิพิธภัณฑ์สังคโลค เมืองสุโขทัย... วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์
กะลาแกะสลักเป็นลายสิบสองนักษัตร (Click to bigger)
พิพิธภัณฑ์ วัดท่าพูด อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม... สัญญา สุดล้ำเลิศ

A Local Museum at Wat Tha Pood... Sanya Sudlamlert

เพื่อเกียรติยศ และศรัทธา : พิธีปลงศพ ด้วยเมรุนกหัสดีลิงค์... ธีรพงษ์ จตุรพาณิชย์

The "Hasdiling" Funeral Rite... Theerapong Jaturapanich

จิตรกรรมวัดอุโมงค์ ภาพล่าสุดจากคอมพิวเตอร์... สุรชัย จงจิตงาม
ถูมิศาสตร์ขุนแผน... ปราณี กล่ำส้ม

History and Geography in Khun Chang-Khun Pan... Pranee Glumsom

ภาพสะท้อนชีวิตไทยในอดีต (๒) : เรื่องรถราง... ใหญ่ นภายน
การเล่นสะเอง ของชาวกูยศรีสะเกษ... วีระ สุดสังข์
คุยก่อน (ก่อนการอนุรักษ์) เรื่องวัดปรางค์หลวง... กฤช เหลือลมัย
โหวต : เครื่องดนตรีพื้นเมือง เอกลักษณ์ของร้อยเอ็ด... ลักขณา จิดาวงศ์
พิพิธภัณฑ์ สิ่งของต้องแสดง และการปกปิดซ่อนเร้น
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์

มิวเซียมหลวงที่วังหน้า มีทั้งเรื่อง "ธรรมชาติ" คือรูปช้างเผือก และงาช้าง กับส่วนของ "วัฒนธรรม" คือเครื่องดนตรีนานาชนิด (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)มักกล่าวกันว่าจุดเริ่มต้น แห่งพิพิธภัณฑ์ของไทย เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อพระองค์ทรงเก็บรวบรวม โบราณวัตถุ ที่ทรงพบขณะเสด็จธุดงค์ มณฑลฝ่ายเหนือ ไปไว้ที่พระที่นั่ง "ประพาสพิพิธภัณฑ์" ในพระบรมมหาราชวัง ทว่า ผู้เขียนคิดว่าเป็นการง่าย และด่วนสรุปเกินไปที่จะกล่าวเช่นนั้น


    จริงอยู่ว่า คำ "พิพิธภัณฑ์" ถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรก ในนามของพระที่นั่ง "ประพาสพิพิธภัณฑ์" หากแต่ความหมายของคำก็อาจจะแตกต่างไป จากที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน ยิ่งในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เราก็จะพบว่ามีถ้อยคำ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าว หลากหลายมากขึ้น คือนอกจาก "พิพิธภัณฑ์" แล้ว ยังมีการทับศัพท์ คำในภาษาอังกฤษ "มิวเซียม" (Museum) และ "เอกษบิชัน"(Exhibition) คำเหล่านี้มีความหมายเหลื่อมซ้อน และเปลี่ยนแปลงไปมาตลอดเวลากว่าครึ่งศตวรรษ และยังต้องการการศึกษาต่อไป

อ่านต่อคลิกที่นี่Click here


Museum: Exposition and Concealment
Suddan Wisudthiluck

มิสเตอร์สแตนเลย์ ฟลาวเวอร์ ชาวอังกฤษที่เข้ามารับราชการในกรมพิพิธภัณฑ์ ในตำแหน่งผู้แนะนำทางวิชาการ (Click to bigger)In Thai, "phiphitthaphan" is presently translated as a "museum," but in the past, this word had different shades of meanings. From 1860's-1920's, "phiphitthaphan" could refer to either a "museum" or an "exposition/exhibition." And it is interesting to note that "phiphitthaphan" then was usually instituted to mark the rite of passage of the kings or the kingdom.

    For example, the "museum" that was first open to public was founded in 1874 to celebrate King Rama V's coronation. Next in 1882, the National Exhibition was staged in Phra Meru Ground to commemorate the centennial anniversary of Bangkok and the Chakri Dynasty. Most items on display in both occasions involved both cultural and natural objects. They were not much different from things that Siam sent to be put on show in Western expositions typical of the late 19th and early 20th centuries.
    According to old document, museum visitors in the past generally showed greater attention to natural objects than cultural ones. In 1898, it was reported that a natural history section of the Royal Museum drew a larger number of visitors than a cultural section did. However, after the National Museum was founded in 1926, objects of natural history were put away and a museum has come to represent merely cultural items, especially those related to royal or Buddhist history.
    On the occasion of Bangkok's bicentennial anniversary in 1982, the new section on modern Thai history was put in place. Nonetheless, the display was by no means "modern," as it simply presents modern development of Thailand in the context of its past glory.
The author of the article cautioned that a museum is rarely a place for truthful representation of reality. Therefore, whenever one steps into a museum, one should try not simply to understand what is on display but to look for its hidden meanings and what is not there as well.

พิพิธภัณฑ์ สิ่งของต้องแสดง และการปกปิดซ่อนเร้น (ต่อ)

MB-Journal@ViriyahBooks.com

สำนักพิมพ์ สารคดี | สำนักพิมพ์ เมืองโบราณ | วารสาร เมืองโบราณ | นิตยสาร สารคดี
[ วิริยะบุคส์ | มีอะไรใหม่ | เช่าสไลด์ | ๑๐๘ ซองคำถาม | สมาชิก/สั่งซื้อหนังสือ ]

ขึ้นข้างบน (Back to Top) วารสาร เมืองโบราณ (Muang Boran Journal) หน้าที่แล้ว (Previous Page) หน้าถัดไป (Next Page)