Page 17 - Skd 298-2552-12
P. 17

แนะน�ำนกั เขียน

                 ศ. ดร. สทุ ศั น์ ยกส้าน

                 (สารคดพี ิเศษ : กาลิเลโอ กาลิเลอ ี  บิดาของวิทยาศาสตร์ยคุ ใหม่) 
                        เปน็ นกั ฟสิ กิ ส ์ อาจารย ์ และนกั เขยี นสารคด ี  สำ� เรจ็ การศกึ ษาจากประเทศองั กฤษ

                 และสหรัฐอเมริกา  มีความสนใจการท�ำวิจัยเรื่องตัวน�ำยวดยิ่ง และการเผยแพร่ความรู้
                 สู่สังคมไทย  เคยได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น นักวิจัยดีเด่นแห่งชาต ิ เมธีวิจัยอาวุโส
                 นกั เรยี นทนุ รัฐบาลดเี ด่น และเปน็ ภาคีสมาชกิ ของราชบัณฑิตยสถาน

                        เนอ่ื งในโอกาสทป่ี  ี ค.ศ. ๒๐๐๙ เปน็ ปดี าราศาสตรส์ ากล ทว่ั โลกจดั งานเฉลมิ ฉลอง
                 ครบรอบ ๔๐๐ ปที กี่ าลเิ ลโอไดใ้ ชก้ ลอ้ งโทรทรรศนส์ ำ� รวจสวรรคเ์ ปน็ ครง้ั แรก จงึ เขยี นสารคดี
                 ชวี ประวตั ขิ องกาลเิ ลโอผเู้ ปน็ บดิ าของวทิ ยาศาสตรย์ คุ ใหมใ่ นแงม่ มุ ตา่ งๆ เชน่  ชวี ติ  แรงดลใจ
                 อปุ สรรค ความใฝฝ่ นั  ความเพยี รพยายามและความสำ� เรจ็ ของมนษุ ยท์ ไี่ ดข้ ยายขอบเขตของ
                 ความเข้าใจในเอกภพ  งานวิทยาศาสตร์ท่ีกาลิเลโอได้บุกเบิกไว้เม่ือ ๔ ศตวรรษก่อนนี้
                 ปัจจบุ ันกย็ งั ไมห่ ยดุ  และจะไมม่ ีวนั สน้ิ สดุ ในอนาคตดว้ ย

                 ปรวิ ฒั น ์ จันทร

                 (สารคดพี ิเศษ : เมอื งรมิ นำ้� แดนกังหน�ำ)
                        เกดิ ยา่ นสพี่ ระยา กรงุ เทพฯ  มรี ากเหงา้ ซงึ่ สามารถสบื คน้ จากปมู สาแหรกตระกลู

                 ไดว้ า่  ตน้ ตระกลู บรรพบรุ ษุ มาจากนครหนานจงิ  อพยพมาอยทู่ ต่ี ำ� บลจงิ กงั่  อำ� เภอเจย๋ี หยาง
                 (เกก๊ เอยี้ ) มณฑลกวา่ งตง ในป ี พ.ศ. ๑๖๗๖ สมยั ราชวงศซ์ ง่ ใต ้ สบื ทอดถงึ ผเู้ ขยี นเปน็ รนุ่ ท่ี
                 ๒๐  ในวัยเด็กมีโอกาสเรียนภาษาจีนที่โรงเรียนสหคุณศึกษา ถนนสุรวงศ์ ต้ังแต่ชั้น ป. ๑
                 ตอนเป็นวัยรุ่นชอบอ่านนวนิยายก�ำลังภายใน สามก๊ก, ไซ่ฮ่นั  และ ซอ้ งกั๋ง  อีกท้งั ชอบชม
                 ภาพยนตรส์ ารคดเี ปน็ ชวี ติ จิตใจ

                        จบการศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ และสถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์
                 ปจั จบุ นั ทำ� งานบรษิ ทั เอกชนแหง่ หนงึ่   ใชเ้ วลาวา่ งจากงานประจำ� พาสมาชกิ ผรู้ ใู้ จกลมุ่ เลก็ ๆ
                 เดินทางไปท่องประเทศจีนปีละ ๒-๓ ครั้ง  จนถึงทุกวันน้ีเดินทางไปท่องเมืองจีนมาแล้ว
                 ๒๐ ครง้ั ใน ๑๘ มณฑล  ตง้ั เปา้ จะเดนิ ทางไปใหค้ รบทกุ มณฑลของจนี ในอกี  ๔ ปขี า้ งหนา้

                        งานเขยี นตพี มิ พช์ น้ิ แรกคอื  “เจาะเวลาสฉู่ างอาน มหานครโบราณสามพนั ป”ี  ใน
                 ศลิ ปวฒั นธรรม ฉบบั กมุ ภาพนั ธ-์ มนี าคม ๒๕๔๔ โดยไดร้ บั คำ� ชแ้ี นะและแรงสนบั สนนุ จาก
                 พี่ธีรภาพ โลหติ กลุ  และได้รบั โอกาสจากพส่ี ุจติ ต ์ วงษเ์ ทศ 

                        ผลงานรวมเล่ม เมืองแมนท่ีปลายฟ้า (เป็นผู้ร่วมเขียน โดยมี ธีรภาพ โลหิตกุล
                 เปน็ บรรณาธกิ ารคดั สรร, ๒๕๔๕), ยำ�่ รอยทราย บนสายแพรไหม (๒๕๔๖), เจง้ิ เหอ แมท่ พั
                 ขนั ท ี ซำ� ปอกง (๒๕๔๖), ๖๐๐ ปสี มทุ รยาตราเจง้ิ เหอ แมท่ พั เรอื ทก่ี ลายมาเปน็ เทพเจา้ ซำ� ปอกง 
                 อันศักด์ิสิทธิ์ (๒๕๔๘), คู่มือน�ำเท่ียวมาเลเซีย มะละกา (๒๕๕๐), ท่องแดนมังกร มณฑล
                 ซานซี (๒๕๕๑), สบสวรรค์ บนพื้นพิภพ แผ่นดินมังกร (๒๕๕๒) และล่าสุด Silk Road 
                 เสน้ ทางสายแพรไหมในซนิ เจียง (ตุลาคม ๒๕๕๒) โดยสำ� นักพมิ พ์สารคดี

                 ฉบับท ี่ ๒๙๘๗  พธนัฤวศาจคิกมา ย๒น๕๒๕๕๒๕๒  นิตยสารสารคดี 15
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22