Page 92 - SKD-V0402.indd
P. 92
อาทิตย์ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑
ย้ายสื่อมวลชน เจ็ดโมงเช้า ศอร. มีค�าสั่งให้สื่อมวลชนทั้งไทยและ
ต่างประเทศย้ายออกจากพื้นที่หน้าถ�้าหลวงไปอยู่ที่ อบต. โป่งผา ห่างจากถ�้าหลวง
ประมาณ ๔ กิโลเมตร ให้เสร็จภายในเวลา ๙ โมงเช้า
แถลงข่าวดีเดย์ เวลา ๑๑ โมง ผู้ว่าฯ ณรงค์ศักดิ์แถลงข่าวปฏิบัติการดีเดย์
ว่าได้เริ่มปฏิบัติการน�าทีมหมูป่าฯ ออกจากถ�้าเมื่อเวลา ๑๐.๐๐ น. แล้ว
“วันนี้ความพร้อมถึงจุดพีกสุดแล้ว... อย่างเร็วที่สุดที่คนแรกจะออกมาคือเวลา
๓ ทุ่ม... ความพร้อมที่ถึงจุดพีกสุดประกอบด้วย ระดับน�้าลดลงมาก... พายุ
ลูกใหม่ก�าลังจะมาจึงต้องรีบปฏิบัติการ... ร่างกายและจิตใจทั้ง ๑๓ คนพร้อมมาก
เด็ดเดี่ยว ยืนยันว่าพร้อมจะออกมา ครอบครัวทราบแล้ว”
Expert Divers
ปฏิบัติการดีเดย์ วันแรกของการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยออกจากเนินนมสาว
ทีมนักด�าน�้าสนับสนุน เป็นวันที่ระดับน�้าในถ�้าลดต�่าสุดและก่อนพายุลูกใหม่จะมา ทีมกู้ภัยทั้งซีลไทยใน
ทีมอังกฤษสี่คน และนอกราชการ นักด�าน�้านานาชาติ หน่วยรบพิเศษของกองทัพบก นักด�าน�้าจาก
นอกจากหมอแฮร์รีสและเครก เชฟรอนและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รวมกันกว่า ๑๐๐ คน ฟังสรุป
อีกเจ็ดคนประกอบด้วย
ทีมจากอังกฤษ แผนปฏิบัติการ
Connor Roe, ทีมกู้ภัยเริ่มเดินทางเข้าไปในถ�้าตอน ๑๐ โมงเช้า เมื่อถึงเนินนมสาวหมอ
90
Josh Bratchley, แฮร์ริสตรวจสอบสุขภาพเด็ก ๆ ขั้นสุดท้าย ให้เด็กลงมาจากเนินทีละคนนั่งบน
Jim Warny ตักหมอเพื่อฉีดยาให้เด็กเคลิ้มและหลับไป จากนั้นทีมนักด�าน�้าอังกฤษสี่คน คือ
กับทีมจากยุโรป คือ จอห์น โวแลนเทน ริชาร์ด สแตนตัน คริส เจเวลล์ และ เจสัน มัลลินสัน (ตอนหลัง
Ivan Karadzic, สี่คนนี้ได้สมญานามว่า Awesome Foursome) จะรับผิดชอบการอุ้มเด็กแต่ละคน
Mikko Paasi, ออกมาแบบหนึ่งต่อหนึ่ง โดยมีทีมสนับสนุนรวมทั้งหมดเก้าคน คือหมอแฮร์ริส
Erik Brown และ และเครก ร่วมกับทีมด�าน�้าจากอังกฤษและยุโรปอีกเจ็ดคน
Claus Rasmussen หัวใจของการน�าเด็กด�าน�้าคือต้องเคลื่อนที่ไปให้เร็วที่สุด เพราะยิ่งอยู่ในน�้า
นานเท่าไรก็ยิ่งไม่ปลอดภัย ตลอดทางการด�าน�้า นักด�าน�้าจะใช้มือหนึ่งจับเชือก
เคลื่อนไปข้างหน้า อีกมือหนึ่งอุ้มเด็กไว้ ซึ่งถ้าเชือกหลุดมือจะตกอยู่ในสถานการณ์
ที่อันตรายมาก ระหว่างนั้นต้องคอยสังเกตว่าเด็กยังหายใจอยู่และหวังว่ายาจะ
ไม่หมดฤทธิ์ก่อนถึงจุดพักถัดไป ภายใต้ทัศนวิสัยในน�้าที่แทบมองไม่เห็นทางข้าง
หน้า นักด�าน�้าจะไม่รู้ว่าจะพบกับช่วงที่ต้องด�าน�้าขึ้นตรง ๆ ตามลักษณะซอกถ�้า
จนกว่าหัวจะโขกกับผนังถ�้า
Safety
ยาที่หมอแฮร์ริสใช้กับเด็ก มียากิน alprazolam ซึ่งท�าให้เด็กรู้สึกเคลิ้ม ๆ
ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ketamine ที่บริเวณขา ซึ่งจะท�าให้เด็กหลับ
และยาฉีด atropine ป้องกันน�้าลายออกมากเกินไป
หมอแฮร์ริสยอมเปิดเผยชื่อยาที่ใช้ภายหลังการช่วยเหลือประสบความส�าเร็จ
เมื่อกลับไปที่ประเทศออสเตรเลีย แพทย์บางคนเรียกปฏิบัติการนี้ว่าเหมือนการ
ปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ของการแพทย์ และแทบทุกคนถือว่าเป็นปาฏิหาริย์ที่ทุกคนรอดชีวิต