สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๑ เดือน กันยายน ๒๕๔๕
สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๑ เดือน กันยายน ๒๕๔๕ " ๑๐ ตัวพิมพ์กับ ๑๐ ยุคสังคมไทย "
  นิตยสารสารคดี Feature Magazine ISSN 0857-1538  
  ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๑ เดือน กันยายน ๒๕๔๕  
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
พิพิธภัณฑ์ผี
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
ทำหลังคาโตเกียว เป็นสีเขียว
สารคดีบันทึก
(คลิกดูภาพใหญ่)
โลกต้องร่วมรับรู้ ปัญหาโลกร้อนที่ "แม่เมาะ"
สารคดีบันทึก
(คลิกดูภาพใหญ่)
คอนเสิร์ตต้านเทปผีซีดีเถื่อน วัยรุ่นตีกันเละ
เกร็ดข่าว
(คลิกดูภาพใหญ่)
ผู้หญิงญี่ปุ่นคนหนึ่ง
กับราคุโหงะของเธอ
การท่องเที่ยว
ชีวิตใหม่ในชุมชนเก่า ที่เกาะเกร็ด
สัตว์-พรรณพืช
(คลิกดูภาพใหญ่)
ปลาข่า ๑๐๐ ตัวสุดท้าย ในแม่น้ำโขง
สะกิดตา-สะกิดใจ
เกร็ดข่าว
ลิขสิทธิ์ฟอนต์ไทย มีหรือไม่...ใครกำหนด
สิ่งแวดล้อม
(คลิกอ่านต่อ)
ปฏิบัติการเพื่อพลังงานสะอาด ของเรืออาร์กติกซันไรส์
หนังสือบนแผง
ที่นี่มีอะไร
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
โลกวิทยาการ
โรคออทิสซึม และเด็กออทิสติก
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๔๔)
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
Asteroid, Planetoid หรือ Minor planet (ดาวเคราะห์น้อย)
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกสัก
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
ตลาดสามชุก
ข้างครัว
สัตว์ปีก
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
สัมภาษณ์
(คลิกดูภาพใหญ่)
ประชา สุวีรานนท์, ชัยชัย เสนอคำ, ปุณลาภ ปุณโณทก ในโลกของกราฟิกดีไซน์
ห้องภาพปรินายก
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
(คลิกอ่านต่อ)
ไม้กวาดแสงจันทร์แท้ ของแม่แสงจันทร์
ลายศิลป์ ลายชีวิต ในเวียงวัง
คลิกอ่านต่อ
พระตำหนักสวนหงส์ 
สมาชิกอุปถัมภ์
สยามร่วมสมัย
ทำไมขุนนาง ต้องผลัดผ้าก่อนเข้าเฝ้า
ข่าวธุรกิจ-ผลิตภัณฑ์
ซองคำถาม
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
เฮโลสาระพา
เรื่องจากปก
(คลิกดูภาพใหญ่) ๑๐ ตัวพิมพ์ กับ ๑๐ ยุคสังคมไทย

       ตัวพิมพ์ (font) มิได้ทำหน้าที่เพียง "ส่งผ่าน" ข้อมูลข่าวสาร หรือเป็นเครื่องหมายที่ใช้แทนเสียงเท่านั้น รูปร่างหน้าตาของตัวพิมพ์ยังช่วยกำหนด "สำเนียง" ที่สร้างความหมาย และบุคลิกที่ต่างกันไปสำหรับเนื้อหาที่จะสื่อ 
       ตัวพิมพ์ ๑๐ ตัวพิมพ์ที่เลือกสรรมาเป็นตัวแทนของ ๑๐ ยุคสังคมไทยนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่า ตัวพิมพ์มีพัฒนาการ ที่แนบแน่นไปพร้อมกับความก้าวหน้า และถดถอยของสังคมไทย ตลอดระยะเวลา ๑๖๐ ปีนับจากตัวพิมพ์ไทยถือกำเนิดขึ้น 
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) ๑๐ ตัวพิมพ์ กับ ๑๐ ยุคสังคมไทย

       ครั้งหนึ่งตัวพิมพ์อาจเคยถูกมองว่ามีหน้าที่เพียง "ส่งผ่าน" ข้อมูลข่าวสาร เป็นสิ่งที่ทุกคน "อ่าน" หากกลับไม่มีใครมองเห็น แต่มาในยุคที่สื่อสารมวลชนเติบโตและทรงอิทธิพลต่อสังคม คงไม่มีใครปฏิเสธว่า มิติของการสื่อสารด้วย "ภาษารูปทรง" ของตัวพิมพ์ ที่ไม่เพียงส่งสารแทนเสียง หากยังถ่ายทอด "สำเนียง" หรือบุคลิกของสารและผู้สื่อสาร ได้ปรากฏเด่นชัดจนกลายเป็นสิ่งซึ่งไม่อาจมองข้าม และ "ตัวพิมพ์" ก็ได้รับการยอมรับในฐานะสิ่งประดิษฐ์ที่มีบทบาทและมีพลัง
       อย่างไรก็ตาม บทบาทของตัวพิมพ์ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในยุคข้อมูลข่าวสาร หากปรากฏอย่างแฝงเร้นมาเนิ่นนานนับจากวันที่มันถือกำเนิดขึ้น ประชา สุวีรานนท์ จะพาเราก้าวสู่ประวัติศาสตร์ของตัวพิมพ์ ทำความรู้จักกับ "หน้าตา" และ "สำเนียง" ของสิ่งประดิษฐ์อันทรงพลัง ที่มีบทบาทและพัฒนาการแนบแน่นกับสังคมไทยตลอดมา นับแต่ยุคของการสร้างชาติ ! 

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) พรมเปอร์เซีย การเดินทางของลวดลายอันวิจิตร

       ในบรรดาพรมที่ผลิตจากประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าพรมปากีสถาน จีน หรืออินเดีย พรมเปอร์เซียของประเทศอิหร่าน นับว่ามีชื่อเสียงมากที่สุด ทั่วโลกยอมรับมานานแล้วว่า พรมเปอร์เซียไม่ใช่เพียงวัสดุปูพื้น แต่เป็นงานศิลปะชั้นดี เราจึงสามารถพบพรมเปอร์เซียผืนเก่าแก่ ถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะที่สำคัญของหลายประเทศ ในด้านเศรษฐกิจ พรมเปอร์เซียเป็นสินค้าออก ที่ทำรายได้เข้าประเทศอิหร่านจำนวนมหาศาลตลอดมา 
       ที่สำคัญ วิถีชีวิตของอิหร่านนับแต่เกิดจวบจนตาย กิจกรรมแทบทุกอย่างทั้งยามกิน ยามนอน ทำงาน ไปเที่ยวพักผ่อน กระทั่งพิธีกรรมทางศาสนา ล้วนกระทำบนผืนพรม ที่ผู้ทอค่อย ๆ ผูกปมด้ายที่ละปมอย่างใจเย็น จนจุดสีเล็ก ๆ จากปมด้านนับแสนปมนั้น ประกอบกันขึ้นเป็นลวดลายอันวิจิตร

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 17 No. 211 September 2002 Cover: 10 typefaces which have played an integral part in shaping the face of the Thai nation for the last 160 years.
Vol. 17 No. 211 September 2002
(Bigger) 10 Faces of Thai Type and Thai Nation

        Since the first printing press together with Thai movable typeface was introduced to Thailand in 1839 by American Baptist missionaries, mass printing and typeface has been fully exploited by many parties for the past 160 years. What once individualized means to communication became popularized as a universal tool accessible to greatly wider ordinary people. In this investigative article, the developmental history of Thai typeface is examined in the light of the history of social and cultural transformation. Here, 10 typefaces which have played a significant role in shaping the face of the nation in various contexts are scrutinized.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) Persian Carpets: the Development of Exquisite Design

       After already nine months of weaving, Sumaiyah's very first carpet, one meter wide and one and a half meters long, was still not finished. But this was not unusual - Persian carpets required a great deal of patience, skill and delicacy to complete, and if done by hand, could take up to an entire year to finish. Considering that a standard quality Persian carpet should have at least 30 - 40 knots in one square centimeter, Sumaiyah would have had to tie at least an incredulous 54,000 knots by hand to complete her carpet... 

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger)   The Saeng Jan Broom: The Pride of a Village

       "The regular broom, which costs approximately 30 - 50 baht, can be used for only three to four months. But the Saeng Jan broom, priced at approximately 100-250 baht, can be used for up to three years..." The very popular Saeng Jan broom had its unsuspected beginnings some 20 years ago, when, in 1984, a Mr. Nguan brought about 4 kilos of a special kind of grain from Taiwan to be grown in Thailand, for export back to Taiwan to be used in the production of brooms. But thanks to Mr. Nguan, Manu Jantapan and his resourceful wife, Khun Saeng Jan, the Saeng Jan broom soon became the pride of the Khuntan District in Chiang Rai. 


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
หมูอมตะ ของกินโบราณ

"หมูอมตะ"