Page 153 - Skd 298-2552-12
P. 153
ข้อมูลท่ีได้แสดงให้เห็นว่า เอกภพมีอายุ
๑๓,๗๐๐ ล้านปี และค่าคงตัว Hubble
มีค่าระหว่าง ๖๙.๒-๗๓.๕ km/s/Mpc
รวมถึงการได้พบว่า เอกภพประกอบดว้ ย
อนุภาคนิวทริโน ๑๐ % อะตอม ๑๒ %
แสง ๑๕ % และสสารมืด ๖๓ %
ค.ศ. ๑๙๙๙ ค.ศ. ๒๐๐๓
กล้องโทรทรรศน์อวกาศ Chandra กลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศ Spitzer ซงึ่
X-ray ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศ กล้องนี้ต้ังชื่อ ต้ังชื่อตามนามของ Lyman Spitzer
ตามนามของ Subramanyan Chan- ผู้เสนอความคิดเรื่องกล้องโทรทรรศน์
drasekhar นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ชาว อวกาศเป็นคนแรก กล้องน้ีเป็นกล้อง
อเมริกันสัญชาติอินเดีย ผู้ได้รับรางวัล ล�ำดับท่ี ๔ ของ NASA ทถ่ี กู สง่ ขนึ้ อวกาศ
โนเบลสาขาฟิสิกส์ประจ�ำปี ๑๙๘๓ จาก เพอื่ ใหโ้ คจรรอบดวงอาทติ ย ์ โดยมวี งโคจร
การศึกษาววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ เป็น เดียวกับโลก เพอ่ื ศกึ ษาเทหวตั ถใุ นอวกาศ
กล้องล�ำดับท่ี ๓ ของ NASA ท่ีถูกส่งขึ้น ที่ปล่อยรังสีอินฟราเรดซึ่งเป็นรังสีท่ีมี
โคจรรอบโลกเป็นวงรีที่มีระยะใกล้สุด ความยาวคลนื่ ตงั้ แต ่ ๓-๑๘๐ ไมโครเมตร
๑๖,๐๐๐ กโิ ลเมตร และไกลสดุ ๑๓๗,๐๐๐ เลนส์ของกล้องมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว
กิโลเมตร กระจกของกล้องมีเส้นผ่าน ๐.๘๕ เมตร จึงสามารถใช้ศึกษาก�ำเนิด
ศนู ยก์ ลางยาว ๑.๒ เมตร ความยาวโฟกสั ของดาราจกั รได้
๑๐ เมตร สามารถรบั รงั สเี อกซจ์ ากเทหวตั ถุ
ฟากฟ้าได ้ ผลงานที่โดดเด่นของกล้องน้ี
คอื วดั คา่ คงตวั ของ Hubble ไดค้ า่ ๗๖.๙
km/s/Mpc เหน็ หลมุ ดำ� ทก่ี ำ� ลงั ปลอ่ ยรงั สี
เอกซ ์ และเหน็ supernova ในกระจกุ ดาว
Cassiopeia
ค.ศ. ๑๙๙๗ ค.ศ. ๒๐๐๑ ค.ศ. ๒๐๐๙
กล้องโทรทรรศน์ Hobby-Eberly NASA ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ Planck
ซึ่งตั้งชื่อตามนามของ Bill Hobby และ Wilkinson Microwave Anisotropy ซงึ่ ตง้ั ชอื่ ตามนามของ Max Planck ผพู้ บ
Robert Eberly ที่หอดูดาว McDonald Probe ขนึ้ สอู่ วกาศ เพอ่ื ศกึ ษารายละเอยี ด ทฤษฎีควอนตัมและได้รับรางวัลโนเบล
ในเทกซัสเร่ิมท�ำงาน ตัวกล้องประกอบ เช่นอุณหภูมิและความยาวคลื่นของรังสี สาขาฟิสิกส์ประจ�ำปี ๑๙๑๘ ถูกส่งขึ้น
ดว้ ยกระจกหกเหลย่ี ม ๙๑ ชนิ้ นำ� มาเรยี ง ท่ีหลงเหลือหลังการระเบิด Big Bang โคจรรอบโลกเปน็ วงรที มี่ รี ะยะใกลส้ ดุ และ
กนั เปน็ รปู mosaic ทำ� ใหเ้ ปน็ จานใหญท่ มี่ ี
เส้นผ่านศูนย์กลางยาว ๙.๒ เมตร การ
เรยี งกระจกลกั ษณะนท้ี ำ� ใหน้ กั ดาราศาสตร์
สามารถติดตามและศึกษาดาวดวงหนึ่ง ๆ
ไดน้ านถงึ ๒ ชวั่ โมง จงึ ใชค้ น้ หาดาวเคราะห์
นอกระบบสุรยิ ะและ supernova
ฉบับที่ ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒ นิตยสารสารคดี 161