Page 154 - Skd 298-2552-12
P. 154
ประวัติย่อของกลอ้ งโทรทรรศน์ จากหลังคาบ้านสอู่ วกาศ
ไกลสุดเท่ากับ ๒๗๐ และ ๑,๑๒๐,๐๐๐ ALMA (Atacama Large Milli- ๐.๖-๒๘ ไมโครเมตร คือรังสีอินฟราเรด
กิโลเมตรตามล�ำดับ เพื่อศึกษาคล่ืน meter Array) เปน็ โครงการสถานดี ารา- ตัวกล้องมีกระจกท่ีมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
แม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความยาวคล่ืนต้ังแต่ ศาสตรภ์ าคพน้ื ดนิ ขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ในโลก ยาว ๖.๕ เมตร และความยาวโฟกัส
๑,๓๕๐-๑๐,๐๐๐ ไมโครเมตร จึงเหมาะ เพื่อศึกษาเอกภพและก�ำเนิดส่ิงมีชีวิต ๑๓๑.๔ เมตร และเพ่ือให้กล้องท�ำงาน
สำ� หรบั การคน้ หาสนามแมเ่ หลก็ ในอวกาศ โดยความร่วมมือจากสหรัฐอเมริกา รบั รงั สอี นิ ฟราเรดไดด้ ี ระบบทำ� ความเยน็
ระหวา่ งดาราจกั ร และสงั เกตปรากฏการณ์ กลุ่มประเทศยุโรปและเอเชียตะวันออก ของกล้องจะต้องถูกควบคุมให้อุณหภูมิ
เลนส์โน้มถ่วง (gravitational lensing) เพ่ือสร้างชุดกล้องโทรทรรศน์วิทยุช่วง สูงไม่เกิน -๒๒๐ องศาเซลเซียส NASA
ตามคำ� ทำ� นายในทฤษฎสี มั พทั ธภาพทวั่ ไป คลน่ื ความถเ่ี ปน็ มลิ ลเิ มตร ประกอบดว้ ย คาดหวังว่ากล้องจะสามารถเห็นก�ำเนิด
ของไอนส์ ไตน์ จานรับส่งสัญญาณท่ีมีขนาดเส้นผ่าน ของดาวฤกษ์ดวงแรก ๆ และดาราจักร
ศนู ยก์ ลาง ๑๒ เมตร จำ� นวน ๖๔ กลอ้ ง แรก ๆ ของเอกภพได้
บนทสี่ งู ๕,๐๐๐ เมตรจากระดบั นำ�้ ทะเล
ในทะเลทราย Atacama ตอนเหนือ
ของประเทศชลิ ี คาดวา่ จะสรา้ งแลว้ เสรจ็
ในป ี ๒๐๑๒
ค.ศ. ๒๐๑๑ ค.ศ. ๒๐๑๓ ค.ศ. ๒๐๑๘
กล้อง Gaia ซึ่งประกอบด้วย กล้องโทรทรรศน์อวกาศ James กล้อง European Extremely
กล้องโทรทรรศน์ ๒ กล้องจะถูกส่งขึ้น Webb จะถูกส่งขึ้นสู่อวกาศเพ่ือรับคลื่น Large Telescope (E-ELT) ขององคก์ าร
สู่อวกาศให้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน แม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ อวกาศแห่งยุโรป (European Space
กบั ดวงอาทติ ยแ์ ละโลก โดยใหอ้ ยหู่ า่ งจาก Agency-ESA) จะเร่ิมท�ำงานรับแสง
โลก ๑.๕ ล้านกิโลเมตร เพื่อค้นหา ทต่ี าเหน็ และรงั สอี นิ ฟราเรด เลนสก์ ลอ้ ง
ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ความเร็ว ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว ๔๒ เมตร
และต�ำแหน่งของดาว ๑ หม่ืนล้านดวง จะท�ำให้ E-ELT เป็นกล้องโทรทรรศน์
ในดาราจักรทางช้างเผือก ที่ใหญ่ท่ีสุดในโลก ซึ่งสามารถศึกษา
สสารมืด พลังงานมืด และเห็นหลุมด�ำ
ค.ศ. ๒๐๑๒ ที่มีมวลมหาศาลได้ กล้องจะติดตั้งท่ีชิลี
หรืออาร์เจนตินา หรือหมู่เกาะคานารี
หรือโมรอ็ กโก
162 นิตยสารสารคดี ฉบบั ท่ี ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒