Page 59 - Skd 298-2552-12
P. 59

ชวี ิตของมนั เช่นเดยี วกับ
ช้าง เสอื สิงโต วาฬ และ
สัตวใ์ กลส้ ญู พนั ธช์ุ นดิ อืน่

    แพนด้าอาจจะมขี ้อ
โชคดตี รงท่ีนา่ รักน่าชัง
เป็นทส่ี นใจของคนไทย
มากกว่าช้างที่เปน็ สัตว์
บา้ นเรา เห็นประจา� จน
ชนิ ตา แตใ่ นตา่ งประเทศ
ผูค้ นใหค้ วามสนใจชา้ ง
ไมต่ ่างจากท่เี ราสนใจ
แพนดา้ เพราะความนา่ รกั
นา่ เอ็นดขู องเคา้

    ผมคดิ ว่าหากมีโอกาส
มนษุ ย์ควรปกปอ้ งสัตว์
ทุกชนิด โดยเฉพาะสัตว์
ทถ่ี ูกมนษุ ยเ์ บยี ดเบยี นและ
ทา� รา้ ยมาโดยตลอด

อท�ายสากกูปใหเร้ สอื่ างรอคาดจี ารย์  ไม่เช่นนนั้ บ้านเมืองเราคง    ของท่าน                          ผมเองก็เปน็ ลกู ศิษย์
แสงอรณุ รัตกสิกร                       ไมเ่ ต็มไปดว้ ย “ทรรศนะ           ในคา� น�าหนังสอื         นอกห้องเรยี นของท่าน
                                       อุจาด” และมรดกทาง                                          อาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร
    หลงั จากไดอ้ า่ นหนงั สอื          หตั ถกรรมพนื้ บ้านของเรา      เลอ คอรบ์ ซู ิเยร์ บอกว่า    สถาปนิกเอกของประเทศ
เลอ คอรบ์ ูซิเยร์ สถาปนิก              คงเหลือใหเ้ ราใชเ้ ป็น        สา� นักพิมพจ์ ะคัดสรรบุคคล   มาตงั้ แต่ทา่ นยงั มชี วี ติ
ผทู้ รงอทิ ธพิ ลทส่ี ดุ แหง่           หนึง่ ผลิตภณั ฑ์หนง่ึ ต�าบล   ส�าคญั ในสาขาต่างๆ มา        ชอบงานเขียนและงาน
ศตวรรษที่ ๒๐ แลว้ คิดถงึ               จรงิ ๆ มากกวา่ ทเ่ี ป็นแบบ    นา� เสนอทง้ั คนไทยและเทศ     ออกแบบของท่านทใ่ี ห้
ท่านอาจารยแ์ สงอรณุ                    หลอกๆ อยา่ งทกุ วันน้ี        ผมไม่แน่ใจว่าอาจารย์         ความสนใจในเรอ่ื งการ
รตั กสิกร ครับ อาจารย์                                               แสงอรณุ จะเปน็ บคุ คล        ออกแบบควบคกู่ บั การ
เปน็ สถาปนกิ เป็นศลิ ปิน                   หนังสอื แสงอรณุ ๒         สา� คญั หรือไม่ แต่ความ      อนรุ กั ษ์ธรรมชาตมิ าตง้ั แต่
เป็นนกั เขียนฝีปากคม                   ซึง่ เป็นหนงั สืออนสุ รณ์งาน  คดิ เห็นของทา่ นในเรอื่ ง    เม่ือ ๓๐ กวา่ ปีกอ่ น
ผมไม่ไดเ้ ป็นลูกศิษย์ทา่ น             พระราชทานเพลงิ ศพ             ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม       ท่านเป็นอาจารย์ไม่กคี่ น
ได้แตอ่ า่ นจากหนงั สือท่ี             ของทา่ น แมเ้ ป็นหนงั สือ     มีความส�าคัญแนๆ่             ในสมยั นน้ั ทกี่ ระตุ้นให้
ท่านเขียนไว้ ผมคิดวา่                  ๑ ใน ๑๐๐ เล่มที่คนไทย                                      ลกู ศษิ ย์ลูกหาสนใจเรอื่ ง
ผลงานทา่ นไมแ่ พค้ อรบ์ ซู เิ ยร์      ควรอ่าน ก็หาไดย้ ากย่งิ           จงึ ขอเสนอ สารคดี        การอยรู่ ว่ มกนั ระหว่าง
ในทกุ ดา้ น ท้งั ศิลปะ                 พบเห็นได้ในหอ้ งสมดุ          จัดทา� เรือ่ งชีวติ และงาน   มนุษย์กับธรรมชาติ
จติ รกรรม ประตมิ ากรรม                 มหาวทิ ยาลัยบางแหง่           ของท่าน เพ่ือทีค่ นไทย
งานเขยี น (ฝมี อื สเกตชภ์ าพ           เทา่ นัน้ แม้บางส่วน          จะได้รับฟังเสยี งของทา่ น        ชวี ติ ของอาจารย์
ท่านเหนือกวา่ คอร์บูซิเยร์             จะนา� มาพิมพ์ใหมใ่ นชอื่      แลว้ จะเกดิ ความร้สู ึกว่า   แสงอรุณอยใู่ นลิสตข์ อง
นะ) ส�าหรบั เมอื งไทยแล้ว              แสงอรณุ แหง่ สถาปตั ยกรรม     ถ้าเราช่วยกัน บา้ นเมืองเรา  สารคดี ท่อี ยากจะทา�
ทา่ นเป็นผูเ้ กดิ ก่อนกาล              แต่กเ็ ป็นเพียงสว่ นเส้ยี ว   คงงดงามกว่านีม้ ากๆ          ในอนาคตครบั
น่าเสียดายที่คนไทยไม่ได้               ของทา่ น ไมเ่ ห็นภาพชวี ติ
รบั ความคิดท่านมาปฏิบตั ิ              ความคดิ และความสามารถ             พงษ์สรร สุวรรณ

                                                                     ฉบบั ที่ ๒๙๘ ธนั วาคม ๒๕๕๒   นติ ยสารสารคดี 6๗
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64