Page 20 - Skd 381-2559-11
P. 20

จากบรรณาธกิ าร

         กนิ พอ เพียง

                   หลายปีกอ่ นผมเคยบวชเปน็ ภิกษสุ งฆ์อย่รู าว ๒ สัปดาห์

                                    เรื่องกงั วลกอ่ นวันอุปสมบทคอื การหา้ มฉนั หลังเที่ยงของพระภกิ ษุ
                                    หว่ งตวั เองว่าถ้าไมไ่ ด้กินมอื้ เย็นอย่างทกี่ ินมาตลอดจะหิวไหม ทอ้ งจะร้องแคไ่ หน จะทนไดไ้ หม
                                    แตป่ รากฏว่าการไมร่ ับอาหารม้ือเยน็ ไมไ่ ด้ทกุ ขม์ ากอยา่ งท่ใี จคดิ   ขณะทเ่ี พือ่ นพระภกิ ษบุ วชใหม่บางรปู
                              บอกวา่ ทรมานมากในช่วง ๓-๔ วันแรก
                                    แต่เมอ่ื รา่ งกายปรบั ตัวคุ้นชนิ  พระใหมท่ กุ รูปกผ็ ่านมาได้
                                    สรุปจากประสบการณ์ช่วงนั้นว่าเอาเข้าจริงแล้วอาหารม้ือเย็นแทบไม่มีความจำ� เป็น แน่นอนว่าเง่ือนไข
                              หนึ่งคือแต่ละวันในช่วงบวช  ไม่ได้มีกิจกรรมหนัก ๆ  ท่ีใช้พลังงานมาก  นอกจากการเดินบิณฑบาต  ท�ำวัตรเช้า
                              วัตรเยน็  อ่านพระธรรมวนิ ยั  ฝึกปฏบิ ัตสิ มาธ ิ ใชแ้ รงงานชว่ งบ่ายบ้างก็กวาดวัด ลา้ งหอ้ งน�ำ้
                                    ยังมีตัวอย่างพระปฏิบัติสายพระป่าท่ีฉันม้ือเช้าจากการบิณฑบาตมื้อเดียวทุกวัน  ร่างกายก็ปรกติ  แถม
                              แข็งแรงดี
                                    ทเี่ รากนิ วนั ละสามมอื้ จงึ นา่ สงสยั วา่ เปน็ ความตอ้ งการของรา่ งกาย หรอื ความคนุ้ เคยทไ่ี ดร้ บั การเลยี้ งดมู า
                                    สืบดปู ระวัตศิ าสตรก์ ารกินอาหารกพ็ บว่าคนสมัยโบราณไมไ่ ด้กนิ สามม้ือ
                                    ชาวโรมนั เชอ่ื วา่ กนิ อาหารกลางวนั มอื้ เดยี วดตี อ่ สขุ ภาพ และมแี ตค่ นตะกละทก่ี นิ หลายมอ้ื   หลายรอ้ ยปี
                              ต่อมาคนยุโรปเริ่มกินสองม้ือ  ม้ือเช้ากับมื้อกลางวัน    กว่าวัฒนธรรมกินสามม้ือจะแพร่หลายในโลกตะวันตกก็
                              ไมก่ รี่ อ้ ยปกี อ่ นเมอื่ เขา้ สยู่ คุ อตุ สาหกรรม เพราะคนเรม่ิ ท�ำงานตามเวลากะเชา้ กะบา่ ยจงึ มมี อื้ เทย่ี งแบบกนิ ดว่ น ๆ
                              มาพักค่ันกลาง  ขณะที่ม้ือเที่ยงเดิมซึ่งเคยกินหนัก ๆ เล่ือนเวลาไปเป็นมื้อเย็น และกลายเป็นมื้อสำ� คัญมากขึ้น
                              เรื่อย ๆ จนถึงทุกวนั นี้
                                    ส่วนซีกโลกตะวันออกน่าจะกินสามม้ือกันมานานแล้ว  มิเช่นนั้นพระพุทธเจ้าคงไม่บัญญัติข้อห้ามฉัน
                              อาหารหลงั เที่ยง
                                    ในเชงิ วทิ ยาศาสตร ์ การกินอาหารสามม้อื ไม่ไดเ้ ป็นกฎบังคบั ทางชีววทิ ยาของรา่ งกาย
                                    งานวิจัยเม่ือไม่นานมาน้ียืนยันว่าการกินให้น้อยกลับดีต่อสุขภาพ  คำ� ว่าน้อยในทางวิทยาศาสตร์ไม่ได้
                              วัดท่ีจำ� นวนมื้อหรือจาน แต่วัดท่พี ลงั งานในอาหารทเี่ รียกวา่ แคลอรี
                                    การวิจัยหน่ึงทดลองกับหนูสองกลุ่ม กลุ่มหน่ึงไม่จ�ำกัดแคลอรี อีกกลุ่มจ�ำกัดแคลอรีลงร้อยละ ๓๐  ผล
                              คือหนูกลุ่มท่ีจ�ำกัดแคลอรีเผาผลาญพลังงานหรือมีเมแทบอลิซึมดีกว่า อายุยืนกว่า และในล�ำไส้ยังมีแบคทีเรีย
                              ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่า  ส่วนหนูท่ีกินไม่จำ� กัดแคลอรีพบว่าเซลล์ร่างกายเส่ือมจากการถูกทำ� ลาย
                              ดว้ ยอนุมูลอสิ ระ ซ่ึงส่งผลพวงใหเ้ ปน็ โรคร้ายตา่ ง ๆ
                                    อกี งานวจิ ยั หนง่ึ ทดลองกบั คน ดว้ ยอาสาสมคั รจ�ำนวนกวา่  ๒๐๐ รายทมี่ อี ายรุ ะหวา่ ง ๒๐-๕๐ ป ี ทกุ คน
                              มีสุขภาพดีตามเกณฑ์ BMI ดัชนีมวลกาย  กลุ่มหนึ่งจ�ำกัดแคลอรีลงร้อยละ ๒๕  อีกกลุ่มกินเท่าไรก็ได้ตามใจ
                              ชอบ    หลังการทดลองเป็นเวลาถึง  ๒  ปี    ผลลัพธ์คือกลุ่มท่ีจ�ำกัดแคลอรีมีน�้ำหนักลด  ความดันโลหิตและ
                              คอเลสเตอรอลลดลง  ขณะท่ีคอเลสเตอรอลดีหรือ  HDL  เพ่ิมข้ึน  ภาวะด้ือต่ออินซูลินลดลง  ภาวะอักเสบต่าง ๆ
                              ลดลง
                                    สรปุ ไดว้ า่ การจำ� กดั แคลอรสี ง่ ผลชดั เจนวา่ ชว่ ยลดความเสย่ี งในการเปน็ โรคจากความเสอ่ื ม เชน่  เบาหวาน
                              มะเร็ง และนา่ จะมีส่วนช่วยยดื อายใุ หย้ นื ยาวขึ้น
                                    ถา้ ใครอยากจำ� กดั แคลอร ี การอดอาหารงดมอ้ื เยน็ แบบพระภกิ ษกุ น็ า่ จะเปน็ แนวทางหนงึ่ ทอ่ี าจใชไ้ ด ้ แต่
                              จะสอดคล้องกับพลังงานที่ร่างกายต้องการหรือเปล่าคงต้องทดลองดู  แต่กระนั้นร่างกายเรายังมีวิธีดึงพลังงาน
                              ทซ่ี ่อนไวอ้ อกมาได้ด้วย
                                    ลา่ สดุ รางวลั โนเบลประจำ�  ค.ศ. ๒๐๑๖ สาขาการแพทย ์ มอบใหแ้ กน่ กั ชวี วทิ ยาชาวญป่ี นุ่ ชอื่  โยะชโิ นะริ
                              โอซุมิ (Yoshinori Ohsumi) ซ่งึ ค้นพบกลไกการกนิ ตัวเองของเซลล์ (autophagy)
                                    ใช่ครบั  กนิ ตวั เอง แต่ไม่ใช่แบบคนกนิ เนือ้ คน

                                                                                                                                      >๒๐

18 พฤศจิกายน ๒๕๕๙
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25