Page 58 - Skd 381-2559-11
P. 58

ASEAN Historic Man  สเุ จน กรรพฤทธ์ิ  

                        เลวันเสวียด เป็นบคุ คลส�ำคัญในประวัตศิ าสตร ์ “อานามสยามยทุ ธ” หรือสงครามระหว่างราชส�ำนกั กรงุ เทพฯ
                            ในสมยั รัชกาลที ่ ๓ กบั ราชสำ� นักกรุงเว ้ ซึง่ กินเวลายาวนานถงึ  ๑๔ ปี ทวา่ คนไทยกลบั ไมร่ ู้จักเรอ่ื งราว
                                 หรือแม้แตช่ ือ่ จริงของเขา เพราะคุ้นเคยแตก่ ับชอ่ื ทีป่ รากฏในพงศาวดารไทยว่า “องเลโบ”

                              “องเลโบ”
                                                    เลวนั เสวยี ด (Lê Văn Duyệt)
                                                  หน่งึ ในหา้ ทหารเสอื ราชวงศ์เหงวยี น

                        เลวันเสวียด เกิดเม่ือ ค.ศ. ๑๗๖๓ ในครอบครัวชาวนาแถบ                                              เม่ือจักรพรรดิซาลอง  (องเชียงสือ)  สถาปนาราชวงศ์เหงวียน
                        ที่ราบลุ่มปากแม่น�้ำโขงบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดเตี่ยนซาง  (Tiền                       ใน  ค.ศ.  ๑๘๐๒  เลวันเสวียด  ได้รับแต่งต้ังให้เป็นขุนพลประจ�ำกอง
                        Giang)  ครอบครัวของเขาอพยพมาจากภาคกลางของเวียดนามตาม                                      ทหารรักษาพระองค์ฝ่ายซ้าย มีฉายาว่าแม่ทัพผู้พิชิตเติยเซิน ใน ค.ศ.
                        นโยบายบุกเบิกดินแดนใหม่ของเจ้าตระกูลเหงวียน  (Nguyễn Lord)                               ๑๘๑๒ จักรพรรดิทรงแตง่ ต้ังเขาเป็นอุปราชแห่งซาดิ่ง
                        ท่ีปกครองภาคใต้เวียดนามเวลาน้ัน  โดยต่อมาครอบครัวของ  เลวัน-
                        เสวยี ด ยา้ ยไปอยทู่ เ่ี มอื งซาดงิ่  (Gia Định-ไซง่ อ่ น/โฮจมิ นิ หซ์ ติ ปี จั จบุ นั )        ระหวา่ งปกครองซาดงิ่  เขาสนบั สนนุ กลมุ่ ชาวจนี อพยพใหส้ รา้ ง
                                                                                                                  ความเจรญิ ทางการคา้ ตามเมอื งทา่ ตา่ ง ๆ รวมถงึ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แก่
                              ช่วงท่ีเขาเติบโตขึ้นมานั้นสถานการณ์ทางการเมืองระหว่างรัฐ                            นักองค์จัน  กษัตริย์กัมพูชาที่ล้ีภัยกองทัพสยามมายังซาด่ิง  โดยน�ำทัพ
                        บนแผน่ ดนิ ใหญข่ องภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตอ้ ยใู่ นภาวะวนุ่ วาย                 เวียดนาม ๑ หม่ืนคนยกไปช่วยโจมตียึดบัลลังก์คืนจากพระอนุชาของ
                        กรุงศรีอยุธยาถูกท�ำลายใน  ค.ศ.  ๑๗๖๗  ในกัมพูชาเกิดการแย่งชิง                             นกั องคจ์ นั  ที่ได้รบั การสนับสนุนจากสยาม นอกจากนเ้ี ขายังสรา้ งฐาน
                        ราชบลั ลงั กบ์ อ่ ยครงั้ จนนำ� ไปสสู่ งครามระหวา่ งทพั สยามกบั ทพั เวยี ดนาม              ทมี่ นั่ ทางทหารในกมั พชู า ทำ� ใหอ้ ทิ ธพิ ลของราชวงศเ์ หงวยี นในกมั พชู า
                        ของราชวงศ์เหงวียน                                                                         เพ่มิ มากขนึ้

                              ใน  ค.ศ.  ๑๗๘๐  เลวันเสวียด  กลายเป็นผู้ติดตามใกล้ชิดของ                                  เลวนั เสวยี ด ยงั มบี ทบาทเปน็ สอ่ื กลางระหวา่ งจกั รพรรด ิ พอ่ คา้
                        เหงวียนแองห์  รัชทายาทของเจ้าตระกูลเหงวียน  (คนไทยรู้จักในชื่อ                            ตา่ งชาต ิ และคณะทตู ทเี่ ขา้ มาตดิ ตอ่ กบั ราชสำ� นกั   ตอ่ มาเขากรธี าทพั
                        “องเชียงสือ”)    เหงวียนแองห์  หลบหนีการคุกคามจากขบวนการ                                  ไปปราบกบฏทางภาคเหนือของเวียดนาม ก่อนจะกลับมารับต�ำแหน่ง
                        เติยเซิน  (แนวร่วมขุนนางท้องถ่ินและกลุ่มต่อต้านตระกูลเหงวียน)                             เดิมอกี คร้งั ในสมัยจกั รพรรดมิ ินหม่าง (พระโอรสของ องเชยี งสอื )
                        มายังบริเวณปากแม่น้�ำโขง  แล้วลี้ภัยต่อไปยังสุดปลายคาบสมุทร
                        อินโดจีน    เหงวียนแองห์  ได้แต่งต้ังให้  เลวันเสวียด  เป็นหัวหน้าราช-                          ต้นทศวรรษ ๑๘๒๐ เขาส่งคณะผู้แทนไปขอซ้ืออาวุธจาก
                        องครักษ์ก่อนที่จะเข้ามายังกรุงเทพฯ  เพ่ือขอความช่วยเหลือจาก                               องั กฤษ ทวา่ เรอื แตกเพราะถกู พายจุ นตอ้ งขนึ้ ฝง่ั ทพี่ มา่  เปน็ เหตใุ หท้ าง
                        ราชส�ำนกั สยามสมยั รัชกาลท ี่ ๑                                                           กรุงอังวะเจรจาชักชวนเวียดนามร่วมโจมตีสยาม  ทว่าถูกปฏิเสธโดย
                                                                                                                  จกั รพรรดมิ นิ หมา่ ง ซง่ึ ทรงคำ� นงึ ถงึ สายสมั พนั ธท์ พ่ี ระราชบดิ าเคยมกี บั
                              จนเมื่อ  องเชียงสือ  เดินทางกลับจากสยามมากู้ราชบัลลังก ์                            ราชสำ� นกั สยามมาแต่เดิม  
                        เลวันเสวียด กลายเป็นแม่ทัพคนสำ� คัญในการท�ำศึกตอบโต้ขบวนการ
                        เตยิ เซนิ   กองทพั เรอื ของเขาไดร้ บั ชยั ชนะในยทุ ธนาวกี บั ทพั เรอื เตยิ เซนิ                 ทว่าท้ายที่สุดการแข่งขันกันสร้างอิทธิพลเหนือกัมพูชาท�ำให้
                        ทเ่ี มอื งทหิ นย่ั  (Thị Nại) ใน ค.ศ. ๑๘๐๑ เขานำ� กองทพั เรอื เบกิ ทางเขา้              เวียดนามต้องปะทะกับสยามในสงครามยืดเย้ือที่เรียกว่า  “อานาม
                        โจมตีกรุงเว้และยึดเมืองได้ส�ำเร็จ  จากน้ันน�ำกองทัพยกข้ึนเหนือยึด                         สยามยุทธ”  ช่วงน้ีเองท่ีกองทัพของ  เลวันเสวียด  ต้องเผชิญหน้ากับ
                        ฮานอยและพิชิตขบวนการเติยเซินได้ในท่ีสุด    กล่าวกันว่าเขาเรียนรู้                         กองทพั ของเจา้ พระยาบดนิ ทรเดชา (สงิ ห ์ สงิ หเสน)ี  แมท่ พั สยามหลาย
                        เทคนคิ การท�ำสงครามแบบยโุ รปจากบาทหลวงฝร่ังเศส                                            ครง้ั  พระราชพงศาวดารสยามออกนามเขาว่า “องเลโบ”

Lê  Văn  Duyệt  number  ๒                                                                                         จำ� นวนสุนขั และไกท่ ่มี บี นั ทกึ ว่า เลวันเสวียด
                                                                                                                  เลี้ยงไวท้ บี่ า้ น  จำ� นวนนีย้ งั หมายถึงธนบตั ร
                        จำ� นวนบตุ รบญุ ธรรมของ เลวันเสวยี ด                                                      ชนดิ ราคา ๑๐๐ ด่ง (Đồng) 
                                                                                                                  ท่ีมีภาพ เลวนั เสวียด ออกใชใ้ น ค.ศ. ๑๙๖๖
                                                                                                                  สมยั เวียดนามใตย้ ังเป็นสาธารณรัฐดว้ ย

                                                                                                                  ๑๐๐

56 พฤศจิกายน ๒๕๕๙
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63