Page 59 - Skd 381-2559-11
P. 59

อย่างไรก็ตามในแง่การเมืองภายใน เลวันเสวียด ไม่สนับสนุนจักรพรรดิมินหม่าง                          กรณนี ส้ี ง่ ผลใหเ้ กดิ  “กบฏเลวนั โคย” น�ำโดย
ต้ังแต่แรกขึ้นครองราชย์ด้วยเขาเป็นข้าหลวงอดีตรัชทายาทองค์เดิมท่ีส้ินพระชนม์ด้วย                  เลวนั โคย บตุ รบญุ ธรรมของ เลวนั เสวยี ด ทแี่ หกคกุ
ไขท้ รพษิ   เขาขดั ขนื พระราชโองการหลายครงั้  เชน่ ขณะทจี่ กั รพรรดอิ งคใ์ หมต่ อ่ ตา้ นครสิ ต์  ออกมาน�ำการต่อต้านใน  ค.ศ.  ๑๘๓๓    กลุ่มกบฏ
ศาสนา  เลวันเสวียด  กลับให้การปกป้องคณะบาทหลวงคาทอลิกและผู้เข้ารีต  จักรพรรดิ                    ได้รับการสนับสนุนจากสยามที่ฉวยจังหวะยกทัพ
จึงต้องทรงหาทางลดทอนอ�ำนาจของเขาลง  เช่น  ส่งข้าหลวงก�ำกับจัดสายบังคับบัญชา                      บุกท่ีราบลุ่มปากแม่น้�ำโขงในเวลาเดียวกัน    ท้าย
กองทพั เสยี ใหม ่ ตลอดจนโยกยา้ ยก�ำลงั ทหารทจี่ งรกั ภกั ดกี บั  เลวนั เสวยี ด ไปประจ�ำพนื้ ที่  ท่ีสุดกลุ่มกบฏถูกปราบปรามลงและกองทัพสยาม
อ่นื                                                                                             ตอ้ งถอยรน่ กลับไป

      เลวันเสวียด ถึงแก่กรรมที่ซาด่ิงใน ค.ศ. ๑๘๓๒ เม่ืออายุ ๖๘ ปี คนท้องถิ่นเรียก                      ตอ่ มาในรชั กาลจกั รพรรดเิ ทยี วจ ิ (Thiệu Trị)
ที่ฝังศพของเขาตามต�ำแหน่งที่ต้ังว่า  “สุสานขุนพล  ณ  ตลาดบ่าเจี่ยว”  (Lăng Ông                   เมื่อสงครามกับสยามยุติลงจักรพรรดิทรงด�ำเนิน
Bà Chiểu)    หลังจากน้ันจักรพรรดิทรงแต่งต้ังผู้ปกครองซาดิ่งโดยตรง  พร้อมกับต้ัง                นโยบายปรองดองกับชาวซาดิ่งด้วยการก่อสร้าง
คณะกรรมการสอบสวน เลวันเสวียด และคนใกล้ชิดย้อนหลัง  เลวันเสวียด ถูกตัดสินว่า                      สุสานเลวันเสวียดขึ้นใหม่    ในรัชกาลต่อมาคือ
กระท�ำความผิดและฉ้อราษฎร์บังหลวง  จึงมีการขุดสุสานของเขาแล้วน�ำศพขึ้นมาโบยตี                     จกั รพรรดติ ดึ กึ๊  (Tự Đức) มพี ระราชโองการประกาศ
พร้อมแขวนปา้ ยประจาน ซ่ึงในวฒั นธรรมเวยี ดนามถือเปน็ เรือ่ งรา้ ยแรงอย่างยิ่ง                    ให้สุสานน้ีเป็นอนุสรณ์สถานส�ำคัญของราช-
                                                                                                 อาณาจักร    จนถึงยุคอาณานิคม  เลวันเสวียด  ยัง
                                                                                                 เปน็ แรงบนั ดาลใจหนง่ึ ในการตอ่ ตา้ นฝรง่ั เศส  กอ่ น
                                                                                                 จะได้รับการยกย่องให้เป็นวีรบุรุษแห่งชาติในสมัย
                                                                                                 เวียดนามใต้เป็นสาธารณรัฐ

                                                                                                       ทุกวันน้ีคนหลากเช้ือชาติศาสนาในภาคใต้
                                                                                                 ของเวียดนามยังนับถือ  เลวันเสวียด  เป็นวีรบุรุษ
                                                                                                 ท้องถิ่น  ศาลและสุสานของเขายังอยู่ในเมือง
                                                                                                 โฮจิมินห์  รวมถึงยังมีโรงเรียนมัธยมฯ  ท่ีตั้งชื่อ
                                                                                                 ตามเขาอีกด้วย  

                                                                                                 หมายเหต ุ : การถอดเสยี งภาษาเวยี ดนามในคอลมั นน์  ี้ ยดึ
                                                                                                 ตาม “สำ� เนยี งฮานอย” ซง่ึ ถอื เปน็ มาตรฐานภาษาเวยี ดนาม
                                                                                                 ปจั จุบัน

๑๘๒๓                                                                                             ปที ี่มีการบูรณะสสุ านเลวนั เสวยี ด
                                                                                                 ดว้ ยเงนิ บรจิ าคของนักธุรกจิ ในไซง่ ่อน
ป(Vีทiี่ ̃nเลhว นั Tเสếว) ียซดึง่  ทสกุ ่ังวขนัดุ นล้ียองักคคงลเปอน็งหวงิ เต๋ 
                                                                                                 ๑๙๓๗และข้าราชการอาณานิคมฝร่งั เศส
คลองสำ� คญั บริเวณปากแม่น�ำ้ โขง
                                                                                                                  พฤศจิกายน  ๒๕๕๙
                                                                                                                                                           57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64