Page 99 - SKD-V0402.indd
P. 99
พญ. จิราภรณ์ อรุณากูร
กุมารแพทย์เวชศาสตร์วัยรุ่น คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายการข่าวค�่า Thai PBS วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑
ฮีโร่ หรือผู้ประสบภัย
ทุกเหตุการณ์ เขาติดในถ�้าและจะยังมาติดกับดักชีวิต อะไรที่ได้มาง่าย ๆ โดยไม่ต้องพยายาม ชีวิต
“การที่จะไปมอบทุนหรือให้โอกาสพิเศษกับเด็กเหล่านี้ถือเป็นโชคร้าย เพราะ
ของพวกเขาอยู่ในช่วงวัยรุ่นที่ต้องเรียนรู้ ไม่ใช่เพียงเรื่องของโอกาสหรือความบังเอิญ
หรือมีเหตุอะไรก็กลายเป็นฮีโร่ ซึ่งเหตุที่เกิดขึ้นควรจะเป็นสิ่งที่สอนเขาได้ดีกว่า
ต้องไม่สูญเปล่า ทุกอย่างควรจะตรงไปตรงมา เขาพยายามก็ควรจะได้รับ ไม่ควรได้รับอภิสิทธิ์
เพราะไม่ใช่ฮีโร่ แต่เป็นผู้ประสบภัย”
ถอดบทเรียน ช่วยชีวิต ๑๓ ห มูป่า
“
”
นาวาโท ไชยนันท์ พีระณรงค์
อดีตหน่วยซีล ผู้ร่วมปฏิบัติภารกิจที่ถ�้าหลวง
รายการ “Lightning Talk” ช่อง ๓ แฟมิลี่ เราขาดความพร้อม
วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑
“ที่ผ่านมาเรามีประสบการณ์เรื่องภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ ไม่ว่าเครื่องบินตก 97
เรืออับปาง แต่เรื่องถ�้าเราไม่คิดมาก่อนและไม่เคยรู้ เป็นวิกฤตที่พวกเราได้มาท�างาน
ร่วมกัน เห็นปัญหาหลายอย่างทั้งความพร้อมของตัวบุคคล สิ่งของอุปกรณ์ที่ไม่
เหมาะสม ต่อไปเราคงต้องพิจารณาหาอุปกรณ์ต่าง ๆ และสร้างความรอบรู้มากขึ้น
อาจต้องมีหลักสูตรเพิ่ม ต้องมีความพร้อม มีอุปกรณ์และบุคลากรเตรียมไว้
“ถ้าเรามีความสามารถและมีความพร้อมก็สามารถสนับสนุนช่วยเหลือ
ไม่จ�าเป็นต้องในประเทศไทย เหมือนกับต่างชาติที่เขามาช่วยเรา วันหนึ่งเราก็อาจ
ได้กลับไปช่วยเขา นี่เป็นโอกาสที่พวกเราจะต้องพัฒนาทั้งอุปกรณ์และบุคลากร”
สุภิญญา กลางณรงค์
ประธานคณะท�างานคุ้มครองผู้บริโภคสื่อ
สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ
งานเสวนาวิชาการถอดบทเรียนการท�าข่าวถ�้าหลวง
วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑
บทบาทสื่อมวลชนไทย
“สื่อมวลชนถูกตั้งค�าถามในสามเรื่อง คือ การล�้าเส้นกฎกติกาหรือกรอบกฎหมาย
ในพื้นที่ภัยพิบัติ การละเมิดจริยธรรม จรรยาบรรณ และฝีมือความเป็นมืออาชีพใน
การให้ประโยชน์แก่สาธารณะ
“การจัดโซนนิงสื่อมวลชนที่ถ�้าหลวงถือเป็นครั้งแรกของประเทศไทย แม้
สื่อมวลชนจะบ่นว่าท�างานล�าบาก แต่กลับท�าให้ไม่เห็นภาพการละเมิดสิทธิผู้ป่วยใน
โรงพยาบาล หรือภาพที่กระทบสิทธิความเป็นส่วนตัว”
ภาพ : REUTERS
สิงหาคม ๒๕๖๑