Page 100 - SKD-V0402.indd
P. 100
ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
ผู้อ�านวยการศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศ
เพื่อประเทศไทย ภาควิชาธรณีวิทยา เราขาดความรู้
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ถ�้าแต่ละแห่งมีปัจจัยที่ไม่เหมือนกัน ข้อมูลทุกอย่างจึงต้องมีความชัดเจน ต้องมีการ
วิเคราะห์ว่าฤดูไหนเที่ยวได้ ฤดูไหนอันตราย ถ้าน�้ามาจะเตือนคนอย่างไร เป็นการให้ความรู้
คนก่อนเข้าถ�้า ต้องเตรียมพร้อมรับทั้งช่วงก่อนและหลังภาวะวิกฤต เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่จะ
ให้เป็นหน้าที่ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ท�าอยู่แห่งเดียวไม่ได้ เพราะเป็นแค่ส่วนหนึ่งของ
ระบบทั้งหมด หน่วยงานและมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ต้องเข้าไปช่วยท�าระบบด้วยกัน
เป็นทีมเวิร์ก”
งานเสวนาวิเคราะห์ปรากฏการณ์ถ�้าหลวง
จากหลากมิติ วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑
ห้องประชุมสารนิเทศ หอประชุมจุฬาฯ
การรายงานข่าวการกู้ภัย
ผศ. พิจิตรา สึคาโมโต้ “สื่อไทยมักจะน�าเสนอข่าวแบบเบรกกิงนิวส์ (breaking news) คือติดตามสถานการณ์
หัวหน้าภาควิชาวารสารสนเทศ
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉพาะหน้ารายงานว่ามีอะไรเกิดขึ้น ต่างจากสื่อต่างประเทศ อาทิ จีน ญี่ปุ่น รายงานข่าวแบบ
ให้สาธารณชนได้เข้าใจและเรียนรู้เหตุการณ์ไปพร้อม ๆ กัน สิ่งที่ผู้รับสารต้องการมากคือ
เนื้อหาข่าวที่ครบ ข้อมูลรอบด้าน การล�าดับเหตุการณ์เป็นขั้นตอน ข่าวที่เร็วที่สุดจึงไม่ได้เป็น
ผู้ชนะในเกมนี้
“พบว่าเนื้อหาข่าวในสื่อออนไลน์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดสี่อันดับแรกสะท้อนสังคมไทย
ที่มุ่งเน้นเรื่องการแสวงหาแพะ ฮีโร่ ไสยศาสตร์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และความมีน�้าใจ ขณะที่ใน
ช่วงวิกฤตสื่อมีหน้าที่ส�าคัญในการสร้างความเข้าใจให้แก่สังคม จึงน่าตั้งค�าถามกับสื่อว่าจะ
ท�าหน้าที่เป็นเพียงแค่กระจกสะท้อนสังคม หรือเป็นตะเกียงที่ส่องทางให้สังคม”
98 ผู้น�า ทีมเวิร์กและการบริหารจัดการ
“กุญแจที่ท�าให้ประสบความส�าเร็จมีสองสามประการ ประการแรก แผนต้องดี เมืองไทย
เขียนแผนต่าง ๆ ดีมาก แต่เรามักจะสอบตกการปฏิบัติ เพราะฉะนั้นแผนดีแล้ว การปฏิบัติ
ต้องดีด้วย และทุกแผนเมื่อปฏิบัติแล้วต้องทบทวนแผนตลอดเวลาเพื่อให้รู้ว่ายังมีจุดอ่อน
อะไร ในหน้างานเราประชุมทุกวัน อย่างน้อยวันละสองครั้ง ตอน ๘-๙ โมงเช้าครั้งหนึ่ง และ
ตอน ๔-๕ โมงเย็นอีกครั้งหนึ่ง เพื่อทบทวนการปฏิบัติว่าได้ตามแผนหรือไม่ ต้องปรับแผน
อย่างไร นี่คือประชุมกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อยก็มีประชุมของเขาอีก พระเอกในเรื่องนี้เป็นหมื่นคน
ไม่ใช่ใครคนเดียวท�าได้ ผมเป็นแค่จิ๊กซอว์ตัวหนึ่งเท่านั้น
“ประการที่ ๒ คืออินฟอร์เมชัน เช่น เรื่องออกซิเจนในถ�้าเป็นอย่างไร เราต้องเอาเครื่องมือ
เข้าไปวัดออกซิเจน เพื่อจะได้รู้ว่าน้องจะอยู่ได้กี่วัน หรือฝนจะตกกี่โมง ต้องใช้ก�าลังคนกี่คน
ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ต้องวางถังอากาศกี่ถัง นี่เป็นสงครามอินฟอร์เมชัน แล้วยังมีเรื่องการตอบโต้ข่าวเชิงลบ เรา
ผู้บัญชาการศูนย์อ�านวยการ ต้องตรวจสอบและแถลงข่าวให้ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง เวลาแถลงข่าวผมจะพูดเฉพาะข้อเท็จจริง
ร่วมค้นหาผู้สูญหายฯ (ศอร.) ไม่พูดเรื่องการคาดการณ์ เราต้องยืนยันข่าวจริงเพื่อให้คนเชื่อถือ
รายการ “โลกป่วน Distrupted World”
: เบื้องหลังภารกิจช่วย ๑๓ ชีวิตที่ถ�้าหลวง “ประการที่ ๓ คือการท�างานร่วมกัน ทุกคนต้องเคารพในสิทธิและในต�าแหน่ง เมื่อเรา
สถานีโทรทัศน์ Thai PBS มอบหมายความรับผิดชอบในภารกิจต่าง ๆ ให้ใครเป็นหัวหน้าทีมไปแล้ว ทีมด�าน�้า ทีมสูบน�้า
วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑
คนที่จะมาช่วย แม้จะเก่งกว่าหัวหน้าทีมของผมก็ต้องให้ความเคารพหัวหน้าทีมด้วย ขบกัน
นิดหน่อยต้องยอมกัน ท�างานภายใต้กติกาเดียวกัน เพื่อรักษาทีมเวิร์ก เล่นเป็นวงดนตรี
เดียวกัน
“ประการที่ ๔ คือบทบาทของหัวหน้าทีม ต้องมีภาวะผู้น�าในการควบคุมทีม
“ประการที่ ๕ คือพลังใจ ที่ส�าคัญที่สุดคือเดชะพระบารมีของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ซึ่งพระองค์พระราชทานอุปกรณ์ส�าคัญหลายอย่างที่หาไม่ได้มาให้เราอย่างเร่งด่วน นี่คือสิ่ง
ส�าคัญที่สุด ด้วยพระบารมีปกเกล้าฯ ท�าให้พวกเราสู้ด้วยขวัญก�าลังใจเต็มที่ ไม่มีถอดใจ”