Page 46 - Skd 298-2552-12
P. 46
โลกเสมือน
ทว่ั โลกสามารถตดิ ตามหรอื สอ่ื สารกบั คนดงั นกั แสดง เรอื่ งของ @Astro_Mike อาจเปน็ การตอบสนอง
นักการเมือง รวมไปถึงบุคคลในสาขาอาชีพต่าง ๆ จินตนาการของผู้คนที่ฝันอยากไปท่องจักรวาลเช่น
ทเี่ คยคดิ วา่ “เขา้ ไมถ่ งึ ” มหิ นา� ซา้� งานอดเิ รกยามวา่ ง เดยี วกบั เขาสกั ครง้ั อยา่ งนอ้ ย ๆ วงการดาราศาสตร์
จากภารกจิ ของเขายงั ทา� ใหเ้ พอื่ นรว่ มงานทเ่ี ปน็ นกั บนิ ก็อาจจะพบช่องทางที่ท�าให้เรื่องท่ีดูยาก เหินห่างจาก
อวกาศอกี หลายคนรว่ มทวตี ดว้ ย เชน่ มารก์ โปลนั สก ี คนบนโลก น่าสนใจติดตามกันมากกว่าเดิมกเ็ ปน็ ได้
(ใชช้ อ่ื วา่ @Astro_127) เจฟฟ วลิ เลยี มส ์ (@Astro
_Jeff) นิโคล สกอตต์ (@Astro_Nicole) เป็นต้น
นอกจากนี้ทางองค์การนาซาเองยังเปิด Twitter ของ
ตัวเองในช่อื NASA_Astronauts
มีเว็บไซต์มากมายที่น�าเสนอเร่ืองราวในแวดวง
ดาราศาสตรท์ งั้ ไทยและตา่ งประเทศ แตท่ น่ี า่ สนใจคอื
ผนู้ า� ธรุ กจิ อยา่ งกเู กลิ และไมโครซอฟตต์ า่ งทา� เวบ็ ไซต์
จา� ลองอวกาศทเี่ รยี กวา่ “กลอ้ งโทรทรรศนอ์ อนไลน”์
ในเวลาไล่เล่ียกัน โดยกูเกิลน้ันมี Google Sky
(เปดตัวเมื่อสิงหาคม ค.ศ. ๒๐๐๗) เปนการพัฒนา
และถือเปนส่วนเสริมจากโปรแกรม Google Earth
ท่ีประสบความส�าเร็จไปแล้ว ส่วนไมโครซอฟต์มี
โปรแกรมทเี่ รยี กวา่ Worldwide Telescope (เปด ตวั
เมื่อกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๒๐๐๘) ซ่ึงสามารถเปดดูได้
เพียงติดต้ังโปรแกรม Microsoft Silverlight ลงใน
เครอ่ื งกอ่ น ทง้ั สองบรษิ ทั ยกั ษใ์ หญย่ งั เปด ใหบ้ รกิ าร
ฟรี โดยมีจุดเด่นคล้ายคลึงกันคือแสดงภาพอวกาศ
จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลให้เปดชมได้
โดยรอบ และยังสามารถซมู ภาพเขา้ ออกไดอ้ ีกด้วย
ถึงตอนนี้ Worldwide Telescope มีผู้เปรียบ
เทียบว่าภาพคมชัดกว่า Google Sky แต่ในอีกด้าน
กเู กลิ ไดอ้ อกสว่ นเสรมิ อน่ื ๆ ทน่ี า่ สนใจมาชว่ ยตอ่ ยอด
อย่าง Google Moon และ Google Mars ทั้งยัง
เปดโอกาสให้ผู้ใช้ร่วมเติมข้อมูลเข้าไปได้มากกว่า
ทั้งนี้ผู้สนใจสามารถเข้าไปเลือกชมได้ที่ google
.com/sky และ worldwidetelescope.org
Google Sky (บน) Worldwide Telescope (ล่าง)
4๘ นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒