Page 67 - Skd 381-2559-11
P. 67
การ์ตูนแสดงผลกระทบของคาร์บอเนตไอออนต่อเปลอื กหอย
(ซา้ ย) ปรมิ าณไอออนอ่ิมตวั (ขวา) ปริมาณไอออนตำ�่ กวา่ ค่าอิ่มตัว
ดัดแปลงจากการต์ ูนซง่ึ วาดโดย Michelle Weirathmueller
ความจรงิ ยงั มปี รากฏการณห์ รอื กจิ กรรมจากฝมี อื มนษุ ยร์ ปู แบบ หรือกระดูกให้ได้เท่าเดิม หรือท�ำให้สัตว์ทะเลสร้างได้น้อยลง เช่น
อนื่ ทที่ ำ� ใหส้ ภาพน้�ำทะเลเปน็ กรดมากขนึ้ เชน่ ฝนกรด (acid rain) ซงึ่ เปลอื กบางลง หรอื กระดูกบางชน้ิ ไม่สมบูรณ์
ประกอบดว้ ยกรดซลั ฟวิ รกิ และกรดไนตรกิ ทม่ี จี ดุ เรมิ่ ตน้ มาจากการเผา
เชื้อเพลิงฟอสซิล หรือการระบายน�้ำเสียจากการขับถ่ายหรือน�้ำใช้ใน ในขณะเดียวกัน ปฏิกิริยาเคมียังมีแนวโน้มจะรักษาสมดุล
เกษตรกรรมลงสนู่ ำ�้ ทะเลแถบชายฝง่ั แตส่ ภาพความเปน็ กรดทเ่ี พมิ่ ขน้ึ โดยค่อย ๆ สลายเปลือกที่มีอยู่เดิม (ซ่ึงเป็นสารประกอบแคลเซียม-
แบบนี้เกิดขึ้นเฉพาะแห่งในพ้ืนท่ีจ�ำกัด ไม่ครอบคลุมไปท้ังโลกท่ัวทุก คาร์บอเนต) ใหล้ ะลายไปในนำ้� ทะเลอกี ดว้ ย
มหาสมทุ รต้ังแต่แถบเสน้ ศูนยส์ ูตรยนั ข้ัวโลก ดังเชน่ ปรากฏการณ ์ OA
ของใหมก่ ส็ รา้ งยาก ของเกา่ กค็ อ่ ย ๆ สลาย สงิ่ มชี วี ติ ทม่ี เี ปลอื ก
ส�ำหรับไบคาร์บอเนตไอออน แม้จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น แต่ก็ หรือกระดูกสรา้ งจากแคลเซียมคาร์บอเนตจึงโชครา้ ยท้งั ขน้ึ ทั้งล่อง !
เพ่ิมข้ึนในสัดส่วนน้อยกว่าไฮโดรเจนไอออน ท�ำให้ระบบต้องรักษา
สภาพสมดลุ โดยสรา้ งไบคารบ์ อเนตไอออนเพม่ิ เตมิ จากการทำ� ปฏกิ ริ ยิ า เมื่อสัตว์ทะเลมีเปลือกบางลงและอ่อนแอกว่าเดิม ผู้ล่าจะ
ของคาร์บอเนตไอออนกับไฮโดรเจนไอออน ผลคือคาร์บอเนตไอออน สามารถเจาะเปลือกและกัดกินได้ง่ายข้ึน ส่วนปลาบางชนิด เช่น
ในทะเลมปี รมิ าณลดลง ปลาการต์ นู วยั ละออ่ นอาจมกี ระดกู ในหผู ดิ รปู รา่ ง ท�ำใหค้ วามสามารถ
ในการไดย้ ินด้อยลงไป
แต่เน่ืองจากคาร์บอเนตไอออนท�ำปฏิกิริยากับแคลเซียม-
ไอออนเกิดเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ดังน้ันเม่ือคาร์บอเนตไอออนลด คราวหนา้ มาเรยี นรปู้ ระเดน็ สำ� คญั อนื่ ๆ ทเี่ กดิ จากสภาพนำ�้ ทะเล
ลงจึงมีผลกระทบต่อสัตว์ทะเลท่ีสร้างเปลือกหรือโครงกระดูกด้วย เป็นกรดมากขึ้นกันครับ !
แคลเซียมคาร์บอเนต เช่น หอย เม่นทะเล ปะการัง (ทั้งน้�ำตื้นและน้�ำ
ลึก) แพลงก์ตอนทสี่ รา้ งแคลเซียมคาร์บอเนต เป็นต้น still curious ?
พูดง่าย ๆ คือวัตถุดิบท่ีใช้สร้างเปลือกสร้างกระดูกหายากข้ึน ขอแนะน�ำ Frequently Asked Questions :
สตั วท์ ะเลทตี่ อ้ งการวตั ถดุ บิ นจี้ งึ ตอ้ งใชพ้ ลงั งานมากขนึ้ เพอื่ สรา้ งเปลอื ก ทThี ่ het tmp:o//swt wimwp.boirotaacnitd f.adcet/sfr oanbto_ucto oncteenatn.p hapci?didifcicaatt=io5n8 3
เกร็ดน่าร ู้ : แมม้ ปี ฏิกริ ยิ าหักล้าง แตอ่ าจไม่ทันกาล
เมอ่ื ค่าความเป็นกรด-ดา่ ง หรือ pH เปล่ียนแปลงไป สารหลายอย่างท่ีเคยสะสมเปน็ ตะกอนบนพ้ืนทอ้ งทะเลกอ็ าจละลาย
กลบั ข้ึนมาปะปนในน�ำ้ ทะเลได ้ เช่น เม่อื ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดล์ งไปในนำ้� ทะเลท�ำให้เกิดปรากฏการณ ์ OA น�้ำทะเลเป็นกรด
มากขึ้น ทำ� ให้แคลเซยี มคารบ์ อเนตในทะเลมีแนวโน้มละลายมากขน้ึ ดว้ ยและส่งผลใหเ้ กดิ สภาพดา่ งตามมา จนดูเหมือนว่า
ความเป็นด่างนอี้ าจหักล้างความเปน็ กรดที่เกิดจากคารบ์ อนไดออกไซด ์ แต่ทวา่ กลไกนเ้ี กดิ ชา้ มากในระดับหลายพนั ปี
ถึงหลายหม่ืนป ี ขณะท่ีปรากฏการณ ์ OA ใช้เวลาไม่กส่ี บิ ปหี รอื ไมก่ ่รี ้อยปีเท่าน้ัน
ดังนน้ั ในช่วงชีวติ ของเราจึงมโี อกาสได้รับผลจากสภาวะทะเลเปน็ กรดมากขึน้ นัน่ เอง
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ 65