สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๙ เดือน กรกฎาคม ๒๕๔๕
สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๙ เดือน กรกฎาคม ๒๕๔๕ " World Cup 2002 "
  นิตยสารสารคดี Feature Magazine ISSN 0857-1538  
  ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๙ เดือน กรกฎาคม ๒๕๔๕  
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
เย็บกระเพาะลดน้ำหนัก
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
อุทยานแดร็กคิวลา
สารคดีบันทึก
ภาพวาดขนาดยักษ์
สถิติโลกกลางท้องสนามหลวง
เกร็ดข่าว
มหาวิชชาลัยชุมชนปักษ์ใต้
มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต ของชาวบ้าน
บุคคลในข่าว
มัรยัม สาเม๊าะ กับศูนย์เด็กกำพร้าและยากจน
บ้านสุไหงปาแน จ. ปัตตานี
สะกิดตา-สะกิดใจ
ต่างประเทศ
คลิกดูภาพใหญ่
๒๑ พฤษภาคม วันกองทัพไทยใหญ่ :
ตำนานผู้กล้าแห่งรัฐฉาน
เกร็ดข่าว
คลิกดูภาพใหญ่
จากซิมบับเวถึงคู่มือจ่ายตลาด
สำหรับซื้ออาหารปลอดจีเอ็มโด
เกร็ดข่าว
คลิกดูภาพใหญ่
ผลักดันชาวเขา ออกนอกประเทศไทย
วิบากกรรมของคนชายขอบ
ที่นี่มีอะไร
หนังสือบนแผง
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๔๒)
โลกวิทยาการ
บุคลิกภาพของ ไอแซก นิวตัน (ตอนจบ)
ส่องจักรวาล
สำรวจ "กลุ่มดาวคนยิงธนู" (ตอนที่ ๒)
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
cobolt (โคบอลต์)
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกพนมสวรรค์
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
บ้านพิพิธภัณฑ์
สุรจิตต์ จันทรสาขา
ผู้เก็บตำนาน แห่งเมืองมุกดาหาร - นครพนม
ข้างครัว
น้ำแกงญี่ปุ่น
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
คลิกดูภาพใหญ่
งานจักรสานบางเจ้าฉ่า เอาเครื่องจักรตอกชั้นดีมาให้ ก็ไม่ได้ประโยชน์
สัมภาษณ์
คลิกดูภาพใหญ่
ทันตแพทย์ยรรยง พันธุ์วงศ์กล่อม
จากนักกิจกรรม สู่เซียนหุ้นพันล้าน
บันทึกนักเดินทาง
คลิกดูภาพใหญ่
แมลงสวย บนดอยสูง
ลายศิลป์ ลายชีวิต ในเวียงวัง
คลิกดูภาพใหญ่
ที่นั่งวิมานเมฆ : แวร์ซายส์ตะวันออก
ตามหาการ์ตูน
อเมริกันซูเปอร์ฮีโร่
บทความพิเศษ
ฟุตบอลโลก ๒๐๐๒ : มุมหนึ่งของห้องปฏิบัติการ ทางอุดมการณ์
ซองคำถาม
ศิลปะ
คลิกอ่านต่อ
สุชาติ สวัสดิ์ศรี : ศิลป์ของสิงห์ฯ
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
เฮโลสาระพา
สมาชิกอุปถัมภ์
เรื่องจากปก
World Cup 2002
ภาพปก : Thomas Kienzle สำนักข่าว AP
บันทึกฟุตบอลโลก ๒๐๐๒
       คาร์ฟู กัปตันทีมบราซิล ชูถ้วยชนะเลิศฟุตบอลโลกครั้งที่ ๑๗ ประจำปี ๒๐๐๒ หลังสิ้นสุดการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ ระหว่างบราซิลกับเยอรมนี เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ ที่โยกาโฮมา ประเทศญี่ปุ่น ผลการแข่งขัน บราซิลชนะเยอรมนีด้วยคะแนน ๒-๐ 
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) ความตายลึกลับของกะเหรี่ยงคลิตี้

       สิบกว่าปีก่อน ความรู้ว่าด้วยพิษของตะกั่ว ทำให้บริษัทผู้ผลิตน้ำมันต้องผลิตน้ำมันไร้สารตะกั่ว เพื่อตอบสนองต่อเสียงเรียกร้องของคนเมือง ซึ่งไม่ยอมเสี่ยงต่อมลพิษจากสารตะกั่วอีกต่อไป
       หากแต่ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน ไกลจากตัวเมืองออกไปในราวป่า ลำห้วยคลิตี้ที่ไหลผ่านหมู่บ้านกะเหรี่ยงกลางป่าใหญ่ กลับต้องกลายเป็นแหล่งระบายน้ำเสีย จากโรงแต่งแร่ตะกั่ว โดยไม่มีใครนำพากับพิษร้ายของมัน
       เนิ่นนานหลายปีกว่าที่ชาวบ้านคลิตี้จะตระหนักถึงมหันตภัย ที่แฝงตัวมากับลำน้ำที่พวกเขาใช้ดื่มกินมาหลายชั่วอายุคน และกว่าที่เสียงแห่งความเดือนร้อนจากหมู่บ้านเล็ก ๆ แห่งนี้จะดังพอให้สาธารณชนหันมาใส่ใจ ชาวบ้านกว่า ๓๐ ชีวิตก็ต้องสังเวยให้แก่ความตายลึกลับ ไม่นับความเจ็บป่วยพิการ ที่ชาวบ้านอีกมากมายต้องเผชิญ 

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) ท่วงทำนองแห่งมหากาพย์ลูกหนัง 
บันทึก ๑ เดือนจากขอบสนามบอลโลกปี ๒๐๐๒


       การแข่งขันฟุตบอลในรายการ world cup เป็นยิ่งกว่าการแข่งขันฟุตบอลธรรมดา ๆ เมื่อพิจารณาว่ามีผู้เฝ้าชมการแข่งขันรายการนี้ถึง ๑,๕๐๐ ล้านคน ยังไม่นับอิทธิพลที่มีต่อวงการแฟชั่น สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมืองในแทบทุกประเทศ ไม่ว่าประเทศนั้นจะมีนักฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันด้วยหรือไม่
       การแข่งขัน world cup ครั้งที่ ๑๗ ปี ๒๐๐๒ จบลงที่ทีมบราซิลได้เป็นแชมป์ ทิ้งเรื่องราวที่เกิดขึ้นให้จดจำเป็นตำนาน สารคดีพิเศษเรื่องนี้เองก็ตั้งใจที่จะบันทึกช่วงเวลา ๑ เดือนของการแข่งขันนี้ไว้เป็นอนุสรณ์ ในโอกาสที่การแข่งขัน world cup ได้มาจัดที่ทวีปเอเชียเป็นครั้งแรก โดยมีเกาหลีใต้และญี่ปุ่นร่วมกันเป็นเจ้าภาพ
       เกียรติพงษ์ ตีระพิมลจันทร์ ๑ ในนักข่าวจำนวน ๑๐,๐๐๐ คนที่ประจำการอยู่ที่ขอบสนาม ได้รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตลอดจนสีสัน บรรยากาศของบอลโลก ที่คนไทยไม่มีโอกาสได้เห็นทางจอโทรทัศน์ ไว้ในสารคดีพิเศษเรื่องนี้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 17 No. 209 July 2002 Cover: Brazilian soccer team captain Cafu holds aloft the World Cup trophy at the end of the 2002 World Cup final soccer match between Brazil and Germany Sunday, June 30, 2002 in Yokohama, Japan. Brazil won the match 2-0. (AP Photo/Thomas Kienzle)
Vol. 17 No. 209 July 2002
(Bigger) A Secret Death for the Karens of Klity

        Klity is the name of a small Karen village deep in the forests of Kanchanaburi, where the villagers have been "mysteriously" falling ill and dying. Lead was being released into the nearby creek by a mining factory upstream, resulting in a level of lead in that area that was a thousand times higher than normal levels. Because the villagers, tucked deep in the forest and not easily reached by car or foot, depended on the creek for both drinking water and fish to eat, they were dying one by one. For a long while, it was a secret death that hadn't been easily or formally detected... 

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) The 2002 World Cup

       Soccer fans, sports enthusiasts and the rest of the world gripped with World Cup fever cried and rejoiced through a whirlwind chain of heart-thumping matches this past month, culminating in a final sweet victory for the Brazilian national team. The dual between the methodical, hardworking Germans against the flair and gusto of the Brazilians unraveled before 72,000 fans in the stadium in Yokohama, Japan, and was televised to an estimated 1.5 billion around the world. Sarakadee sent this writer to capture the agonizing defeats, glorious moments, and simply eventful happenings firsthand.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger)   Suchart Sawatsri... the Artist

       For the past three decades, Suchart Sawatsri has been known in Thai society as a writer, a translator, a professional editor and simply an important resource in literary circles. However, this "Lion of Sanaam Muang" did always have a rapt curiosity and the kind of exposure - Hem Vechakorn, Vermeer, Frans Hals - that was conducive to fanning the flames of his interest in art. In 1995, he attempted to experiment with another form of communication, a more direct expression of his creativity than the backstage editing he was used to. From literature to impressionism, surrealism and abstract expressionism, this is his story...


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
หมูอมตะ ปีสำคัญ

"หมูอมตะ"

ส ะ กิ ด ใ จ
       "ฟุตบอลโลกหนนี้ไม่มีดาราเจิดจรัสให้เห็น ไม่มีทีมที่ยิ่งใหญ่มาให้เชยชม ไม่มีจังหวะเวลาแห่งความทรงจำที่แท้จริงเกิดขึ้น...
       ทักษะและทีมเวิร์กระดับชวนให้เซอร์ไพรส์จากสหรัฐอเมริกา ความทะยานอยากของเซเนกัลและเกาหลีใต้ การท้าทายจากทีมอย่างตุรกีต่างหากที่กระตุ้นเลือดในตัวแฟนบอลให้ฉีดพล่านกันอยู่บ้าง
       ที่เหลือนอกจากนั้นคือความล้มเหลวอย่างน่าผิดหวัง เพราะความเย่อหยิ่งของทีมอย่างฝรั่งเศสและอาร์เจนตินา เพราะฟอร์มตกต่ำกว่ามาตรฐานของทีมอย่างโปรตุเกส อิตาลี เพราะความผิดพลาดของผู้ตัดสินของทีมอย่างสเปน แม้อังกฤษเองที่เชื่อมั่นในตัวเองว่าเป็นทีมที่ยิ่งใหญ่ ดู ๆ ไปก็เหมือนกับหลงตัวเองเสียมากกว่า สุดท้ายก็คือ การที่ทีมเยอรมันที่มีอะไรให้ประทับใจน้อยที่สุดในรอบหลายทศวรรษได้เข้าชิงชนะเลิศ"

ร็อบ บอนเน็ต แห่งบีบีซีสปอร์ต
จากหนังสือพิมพ์ มติชน ประจำวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕