สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๐ เดือน สิงหาคม ๒๕๔๕
สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๐ เดือน สิงหาคม ๒๕๔๕ " เปิดแฟ้มคดีมด "
  นิตยสารสารคดี Feature Magazine ISSN 0857-1538  
  ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๐ เดือน สิงหาคม ๒๕๔๕  
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
อ้วนครองโลก
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
สมัชชาคนจนสิงคโปร์
เกร็ดข่าว
ตลาดอึ่งอ่าง
เกร็ดข่าว
โลกทัศน์ชุมชน เครื่องมือที่ทำให้รู้ว่า เกิดอะไรขึ้นรอบ ๆ ตัว
หมุนตามโลก
แผนที่สมองพระ
เมื่อวิทยาศาสตร์ พยายามทำความเข้าใจ "โลกภายใน" ของมนุษย์, ขุมทรัพย์ไอน์สไตน์
สะกิดตา-สะกิดใจ
สัตว์-พรรณพืช
ตะพาบม่านลาย จากบ่อเลี้ยงรุ่นแรกของโลก
การค้นพบ
ค้นพบฟอสซิลกะโหลก บรรพบุรุษมนุษย์ เก่าแก่ที่สุดในโลก
หนังสือบนแผง
ที่นี่มีอะไร
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
ส่องจักรวาล
ค้นหาซูเปอร์โนวา ครั้งสุดท้ายในทางช้างเผือก
โลกวิทยาการ
ละอองดาว
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
Torino Scale
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ 
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๔๓)
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกไฮเดรนเยีย
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
พิษณุ จันทร์วิทัน กับภาพเก่าเมืองไทย
ข้างครัว
คนเกาหลีกินเผ็ด
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
เขียนด้วยคน
นมและยกทรง
สยามร่วมสมัย
เมื่อแรกมีเครื่องแบบลูกเสือ
อ่านเอาเรื่อง
หยุดเซ็กซ์เก็บพรหมจรรย์ : ในวันที่ "ใคร ๆ เขาก็ทำกัน." 
ตามหาการ์ตูน
คลิกอ่านต่อ
มังงะ
บันทึกนักเดินทาง
คลิกดูภาพใหญ่
หนองบงคาย... แหล่งพักพิงของนกแรมทาง
สารคดีภาพ
คลิกดูภาพใหญ่
เทศกาลหุ่นเอเชีย-ยุโรป 
ซองคำถาม
ลายศิลป์ ลายชีวิต ในเวียงวัง
คลิกดูภาพใหญ่
หกตำหนักฝ่ายใน บ้านพักชายน้ำ
ข่าวธุรกิจ-ผลิตภัณฑ์
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
คลองพะโต๊ะ, วัดสุทัศน์
เฮโลสาระพา
สมาชิกอุปถัมภ์
หยุดเซ็กซ์ เก็บพรหมจรรย์ : ในวันที่ "ใคร ๆ เขาก็ทำกัน"
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) พันธุ์ปลาหลังเปิดเขื่อนปากมูล งานวิจัยของคนหาปลา

       "เมื่อมีการสร้างเขื่อน เราได้รับผลกระทบ ทรัพยากรและชีวิตของเราถูกทำลาย
       เมื่อเปิดเขื่อน ปลากลับมา ธรรมชาติกลับมา ชีวิตเราก็กลับมาด้วย" 
       เพื่อพิสูจน์ความจริงข้อนี้ ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนปากมูล จึงรวมตัวกันตั้งคณะทำงาน เพื่อรวบรวมชนิดพันธุ์ปลาที่กลับมายังแม่น้ำมูน หลังจากคณะรัฐมนตรี มีมติให้เปิดประตูเขื่อนปากมูลเป็นเวลา ๑ ปี โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่มิถุนายน ๒๕๔๔ ถึงพฤษภาคม ๒๕๔๕ ครอบคลุมพื้นที่ ๖๕ หมู่บ้านที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อน
       ผลวิจัยนี้ไม่เพียงยืนยันถึงความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำ ทั้งในแง่พันธุ์ปลา และพันธุ์พืชที่กลับคืนมา หากยังบอกเราด้วยว่า การเปิดประตูเขื่อนปากมูลครั้งนี้ ได้ลดความขัดแย้งที่ดำเนินมาเกือบ ๑๐ ปีนับจากการสร้างเขื่อน และคืนสันติสุขสู่ชุมชนอีกครั้ง

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) เปิดแฟ้มคดีมด ตอน ปริศนาแห่งนครมด

       หนึ่งในเหตุผลทั้งหลายแหล่ที่มีคนยกขึ้นมาอธิบาย ถึงความเจ๋งล้ำสามโลกของเผ่าพันธุ์มด ผู้อยู่ยงคงกระพันมานานเป็นร้อยล้านปี คือระบบสังคมแบบมด ๆ อันเป็นระบบสังคมที่มีผู้ยกย่องว่า "ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์วิวัฒนาการ"
       ราชินี มดงาน มดทหาร มดตัวเมียว่าที่ราชินี และมดตัวผู้ อยู่ด้วยกัน และอุทิศตัวทำงานตามหน้าที่อย่างดี มีแบบแผนและมุ่งไปทิศทางเดียวกัน จนพูดได้ว่า ไม่มีมดเซอร์ มดกบฏ มดอู้งาน มดอัลเทอร์ฯ ในหมู่มด
       ความที่ยังไม่มีใครอธิบายถึงเหตุผลการยอมอุทิศตัว ทำงานแบบน้ำหนึ่งใจเดียวกันของมด ได้จะแจ้งแทงตลอดเสียที พวกสุดขั้วถึงกลับปฏิเสธเอาเสียเฉย ๆ ว่า มดเป็นสัตว์สังคมแต่เพียงเปลือกนอก พวกมันสักแต่มาอยู่รวมกันเฉย ๆ เหมือนผงเหล็กถูกแม่เหล็กดูดแค่นั้น
       แต่อีกด้านหนึ่ง นักมดวิทยาและคนบ้ามดก็มีความคิดแปลก ๆ ขึ้นมาว่า ฤามดแต่ละตัวจะเป็นเซลล์หนึ่งเซลล์ และมดทั้งรังจะเป็นสิ่งมีชีวิตหนึ่งตัว (superorganism) 
       คุณก็เคยสงสัยเรื่องนี้เหมือนกันใช่ไหม

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 17 No. 209 July 2002 Cover: Someone once said that ant society was the most ideal communist society in the world... Other theories suggest that an ant society is a "superorganism" and each single ant is equivalent to a single cell.
Vol. 17 No. 210 August 2002
(Bigger) The Fish Population and the Paak Moon Dam

        In 1994 the Paak Moon electricity-generating Dam was constructed in Ubol Ratchathanee Province. Immediately thereafter, the ensuing reduction in the fish population robbed the local villagers previously involved in fishing activities of their livelihood. Consistent protests against the Dam finally gave way to a Cabinet decision in June of 2001 which ordered the Electricity Generating Authority of Thailand to open up eight doors to the Dam for a period of one year. It also established a taskforce to study and compare the ecosystem and fish population before and after the opening up of the Dam...

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) The Ant File

       Some regard ants as tiny little insignificant bugs, until they get bitten by one and suffer the consequences. This ranges from an annoying little itch to tightness in the chest due to the constriction of the flow of blood to the heart. Ants are a nuisance to some, and the subject of intense study to others. According to the French myrmecologist Caremie Chovin, myrmecologists study ants for two reasons. First, because these "ant lovers" have come to the realization that perhaps humans aren't the best species in terms of the history of creation; and second, because they want to understand the mysterious and complex organization of ants...

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger)   The Asia-Europe Puppet Festival

       The first ever, Asia-Europe Puppet Festival, initiated by the Office of the National Culture Commission and the Asia-Europe Foundation, was held in Bangkok, Thailand during July 16th - 22nd, 2002. Nineteen puppet troupes representing sixteen countries from the continents of Asia and Europe joined in a varied and vibrant display of culture and tradition. Yet the friendships and understanding that were forged through the successful organization of this large-scale event, reminded audiences that within this cultural variety a common united expression of the human condition was found in puppet form.


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
หมูอมตะ สถิติประเทศไทย

"หมูอมตะ"

ส ะ กิ ด ต า ส ะ กิ ด ใ จ
คลิกดูภาพใหญ่        ไก่จีเอ็มโอ อวสานของ ไก่งามเพราะขน

       เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์แห่งคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮิบบรู ประเทศอิสราเอล ได้ประสบความสำเร็จ ในการผสมไก่พันธุ์ใหม่ ด้วยวิธีการทางพันธุวิศวกรรม หรือไก่จีเอ็มโอ ไก่ชนิดนี้เป็นไก่ไร้ขน มีไขมันต่ำ
       นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า ไก่ไร้ขนจะช่วยประหยัดเงินผู้เลี้ยง ไม่ต้องเสียเวลาถอนขน ใช้พื้นที่น้อย เหมาะในการเลี้ยงเป็นฟาร์มไก่ขนาดใหญ่
       แว่ว ๆ มาว่าร้านไก่ทอดชื่อดังหลายแห่ง ในประเทศสหรัฐอเมริกา กำลังสนใจไก่จีเอ็มโอ มาทำไก่ทอดให้ลูกค้ากิน ส่วนที่เมืองไทยุวิศว... อีกไม่นานเกินรอ
       "แต่ก่อนโดยเฉลี่ยใครลุกขึ้นมาทำงานด้านการอนุรักษ์ ส่วนใหญ่จะเป็นคนเสียสละ ขณะที่ในปัจจุบันร้อยละ ๕๐ ของคนทำงานด้านการอนุรักษ์ทำเพื่อธุรกิจ เนื่องจากงานอนุรักษ์ในปัจจุบันมีทั้งลาภ ซึ่งหมายถึงเงินเดือนสูง ๆ นอกจากนี้ยังมียศ อาจได้เป็นเจ้าหน้าที่ขององคก์กรนั่นองค์กรนี้ และสุดท้ายยังมีเรื่องคำสรรเสริญเยินยอเข้ามาเกี่ยวข้อง หากจะทำงานด้านการอนุรักษ์ จึงต้องระมัดระวัง อย่าให้ตัวเองเข้าไปยุ่งเกี่ยวธุรกิจอนุรักษ์ มันจะไม่เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ และจะดูเหมือนกับนักอนุรักษ์กำมะลอ มากกว่าจะเป็นนักอนุรักษ์ที่มีจิตใจสาธารณะ"

รศ.ดร.สมโภชน์ ศรีโกสามาตร
อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
รองหัวหน้าโครงการพัฒนาองค์ความรู้
และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (BRT)