นิตยสาร สารคดี: ฉบับที่ ๒๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๔๖
นิตยสาร สารคดี: ฉบับที่ ๒๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๔๖ "มายาแห่ลูกปัด"
English summary
นิตยสารสารคดี Sarakadee Magazine ISSN 0857-1538
  นิตยสาร สารคดี: ฉบับที่ ๒๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๔๖  
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
อาชญากรในเครื่องแบบ
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
สถานการณ์ซ่องในญี่ปุ่น
เกร็ดข่าว
(คลิกดูภาพใหญ่)
รักเพศเดียวกัน ไม่ใช่โรคจิต
เกร็ดข่าว
ห้าข่าวใหญ่ในรอบปี ๒๕๔๕ ผลกระทบต่อแนวโน้มโลก และสังคมไทย
อาหารและโภชนาการ
วัฒนธรรมน้ำดื่ม
สะกิดตา-สะกิดใจ
สิทธิมนุษยชน
สร้างเขื่อนสาละวินในพม่า ซื้อไฟฟ้าแถมผู้ลี้ภัย
เกร็ดข่าว
ข่าวย้อนหลัง "วันไม่ซื้อของ ๒๐๐๒"
บริการสังคม
เตาเผาศพ และสุสานสัตว์เลี้ยง ที่วัดคลองเตยใน
ที่นี่มีอะไร
หนังสือบนแผง
โลกบันเทิง
ภาพยนตร์
Y Tu Mama Tambien
ทัวร์เม็กซิโกฉบับกระเป๋า
โลกธรรมชาติและวิทยาการ
โลกวิทยาการ
ตำราอาร์คิมีดีส
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๔๗)
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
zodiac (จักรราศี)
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกไก่ฟ้า
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
เปิดชั้น ๓ บ้านพิพิธภัณฑ์
สารคดีบันทึก
(คลิกดูภาพใหญ่)
หมู่บ้านดิน และเรื่องที่มากกว่านั้น
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
เขียนด้วยคน
ผิดที่ผิดทาง
ห้องภาพปรินายก
สู่สวรรค์
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
"ร่มฉัตรหัตถกรรม" ผู้ให้คุณค่าแก่กะลามะพร้าว
บันทึกนักเดินทาง
(คลิกดูภาพใหญ่)
นาทีชีวิต ของงูเขียวพระอินทร์ กับตุ๊กแก
ข้างครัว
องุ่น เล็กดี รสโต
ตามหาการ์ตูน
หนังการ์ตูนสามมิติ
สยามร่วมสมัย
ปัญหาเรื่องธงมหาราช
สัมภาษณ์
จิตติ รัตนเพียรชัย
โลกของคนปลูกกล้วยไม้
ลายศิลป์ ลายชีวิต ในเวียงวัง
วังวรดิศ นวศิลป์เยอรมัน ในราชสำนักสยาม
ตอนที่ ๑
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
ข่าวธุรกิจ-ผลิตภัณฑ์
เฮโลสาระพา
เรื่องจากปก
(คลิกดูภาพใหญ่)
ภาพปก : สกล เกษมพันธุ์, บุญกิจ สุทธิญาณานนท์
มายาแห่งลูกปัด

       เราอาจไม่เคยตั้งคำถามกับที่มา ไม่ได้ใส่ถึงความหมายที่ซ่อนอยู่ในสีสัน ลวดลายและรูปทรงของรูปของลูกปัด ที่เราเห็นกันอยู่ดาษเดื่อนทุกวันนี้ เพราะไม่คิดว่า มันจะเป็นอะไรมากไปกว่าเครื่องประดับอย่างหนึ่งเท่านั้น แต่สำหรับนักสะสมลูกปัดแล้ว เขารู้ว่าในวัตถุเม็ดเล็ก ๆ เหล่านี้ ประกอบไปด้วยวิถีชีวิต ความเชื่อ สังคม เทคโนโลยี จินตนาการ และความงามอันลึกลับ ที่ทำให้ผู้คนทุกยุคสมัยต้องมนต์เสน่ห์ จนปรารถนาที่จะได้ครอบครอง
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) โลกหลายใบของเด็กชายพราหมณ์

       เด็กชายภีษม รังสิพราหมณกุล อายุ ๑๒ ปี เป็นเด็กนักเรียนชั้นมัธยม ๑
       โลกของเขามีหลายใบ โลกใบหนึ่งเป็นใบเดียวกับของเด็กชายวัยเดียวกันคนอื่น ๆ ที่ต้องเรียนหนังสือ ทำการบ้านส่งคุณครู เล่นปิงปอง ดูหนัง ดูการ์ตูน พูดคุยและดักคอกับเพื่อนร่วมกลุ่มอย่างน่าสนุกสนาน ภีษมดูไม่ต่างจากคนอื่น ๆ หากไม่สังเกตมวยผมของเขา 
       โลกอีกใบหนึ่งเป็นโลกแห่งนักบวช - ในพิธีกรรม ภีษมมีหน้าที่เป่าสังข์ในบางครั้ง และ "ขึ้นสวด" กับพราหมณ์ผู้ใหญ่คนอื่น ๆ ในบางหน นอกพิธี เขามีหน้าที่ฝึกฝนตนเองตามแบบแผนของพราหมณ์
       ค่าที่เขาเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขของสายตระกูลหัวหน้าพราหมณ์ ภีษมกำลังเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ในการเติบโตขึ้นเป็นพราหมณ์ผู้สืบทอดตำแหน่ง ปรัชญา จารีต และการปฏิบัติจากพราหมณ์รุ่นก่อน

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) ชีวิตหลังสงครามบนแผ่นดินอัฟกานิสถาน

       สภาพบ้านเมือง (หรือที่จริงควรเรียกว่า ซากบ้านเมือง) ภายหลังสงครามเป็นอย่างไรนั้น ผู้ที่ยังอยู่ห่างไกลสงครามขนาดใหญ่อย่างเรา ๆ คนไม่อาจรู้เห็นกระจ่างนัก ได้แต่จินตนาการเอาจากข่าวต่างประเทศที่ออกอากาศชั่วไม่กี่นาที หรือดูเอาจากหนังฮอลลีวู้ด
       โทรุ โยโกตะ ช่างภาพอิสระชาวญี่ปุ่น เดินทางไปยังอัฟกานิสถานสองครั้ง ครั้งละ ๑ เดือน เดินทางไปตามถนนหนทาง ตลาด โรงพยาบาล เรือนจำ และสำนักงานนิตยสารผู้หญิง ในเมืองสำคัญอย่างกรุงคาบูล กันดาหาร์ จาลาลาบัด และมาร์ซาอีชารีฟ เพื่อบันทึกภาพที่เห็นและความเป็นไปของพลเมืองที่นั่น ทั้งที่เป็นชาวบ้าน เชลยสงคราม ผู้หญิง และเด็ก ภายหลังจากการถูกถล่มด้วยกำลังอาวุธของสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรฝ่ายเหนือ
       อัฟกานิสถานภายหลังการวางอาวุธของกองทัพตาลีบันนั้น มีทั้งภาพน่าเศร้าน่ารันทดใจและภาพแห่งความเบิกบานในขณะเดียวกัน

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) มายาแห่งลูกปัด

       เครื่องประดับที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์อย่างลูกปัด ไม่ได้เป็นแค่เครื่องประดับอย่างที่เราเห็นกันอยู่ทุกวันนี้
       นับแต่ลูกปัดปรากฎตัวอยู่ในอารยธรรมมนุตย์ มันถูกปรับเปลี่ยนบทบาทและหน้าที่เพื่อรับใช้มนุษย์มานานกว่า ๔ หมื่อนปี กล่าวกันว่าในอดีต ทุกคนล้วน "ใช้" ลูกปัดกันทั้งนั้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง กระทั่งทุกวันนี้ การใช้ลูกปัดก็ยังปรากฎให้เห็นอยู่ในทุกสังคม
       เราอาจคิดไม่ถึงว่า ในประเทศไทยมีลูกปัดที่คนโบราณเคยใช้เมื่อหลายพันปีที่แล้ว  ซุกซ่อนอยู่เป็นจำนวนมาก สารคดีพิเศษเรื่องนี้ จะพาคุณไปค้นหาจุดเริ่มต้นของการใช้ลูกปัด และความเชื่อบางอย่างที่ซ่อนอยู่ในวัตถุเม็ดเล็กๆ นี้ อันเป็นเหมือนมนต์เสน่ห์ ที่ทำให้มันเป็นที่ต้องการของมนุษย์มาทุกยุคสมัย

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 18 No. 215 January 2003 Cover: Through the differences in materials, texture, colour or patterns drawn on them, beads can reveal so many stories about human history and civilizations.
Vol. 18 No. 215 January 2003
(Bigger) Little Brahmin

        In India, where Hinduism is still practiced widely, the sight of a young Brahmin might not stir up any interest. In Thailand, where the number of Brahmins is limited, 12-year-old Bhishma Ransibrahmanakul is an extraordinary phenomenon. 
        On one level, the young Bhishma is an ordinary Mattayom 1 student at Dhepsirin School who plays football, listens to popular music and watches Hollywood movies. At another level, however, he has another life as a promising young Brahmin who is expected to be one of a few to carry on the tradition in this country.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) War and remembrance

       Dust and heat. Ruined buildings and relics of war. Fear and sadness. All these seem to be the common thread that runs through a visit to Afghanistan - the place where war is very much a part of life. 
       From Mazar-e-Sharif, freelance photographer and TV cameraman, Toru Yokota made his way to Kabul and Kandahar, the former stronghold of the Taliban. The United States' bombing finally stopped. The wounds old wars are still evident almost everywhere but life goes on as well.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger)   Bead-time Stories

       For some people, beads are nothing but pieces of stone, glass, bone or some old shell. For others, collectors and traders in particular, beads are objects of fascination. They can also tell many stories. Indeed, through their shapes, colours or patterns, beads can tell us many things about history and civilizations, dated back thousands of years ago.

Click Here to Continue Continue: click here


ซ อ ง คำ ถ า ม
ทำไมคนอเมริกัน เรียกเงินว่า "บั๊ก" (buck)
คนเราจะกลั้นใจตายได้ไหม ?