Page 147 - Skd 298-2552-12
P. 147

จากหลงั คาบ้านสอู่ วกาศ

                                                                                                     ระบบเอกภพของอริสโตเติลที่มีโลกเป็น
                                                                                                     ศนู ยก์ ลาง และไดน้ ำ� โลกเขา้ สวู่ ทิ ยาศาสตร์
                                                                                                     ยุคใหม่

ราว ๓๐๐ ปีกอ่ นคริสต์ศักราช                    ค.ศ. ๑๖๐๘                                             ค.ศ. ๑๖๑๙

   อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก                    Hans Lippershey ช่างท�ำเลนส์                          Johannes Kepler นักดารา-
ได้แบ่งเอกภพออกเป็น ๒ ส่วน คือโลก              ชาวเนเธอร์แลนด์ ประดิษฐ์กล้องส่อง                     ศาสตร์ชาวเยอรมัน ค้นพบว่าการโคจร
และสวรรค์ โดยท่ีโลกประกอบไปด้วย                ทางไกลกล้องแรกของโลก  บางต�ำนาน                       ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี
๔ ธาตหุ ลกั  คอื  ดนิ  นำ้�  ลม และไฟ ซงึ่ มี  อ้างว่า Jacob Metius และ Zacharias                    ไมไ่ ดเ้ ปน็ วงกลมตามทโ่ี คเปอรน์ คิ สั เขา้ ใจ
การเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา  สว่ นสวรรค์           Jansen คอื ผูป้ ระดษิ ฐ์กล้องคนแรก
เป็นที่อยู่ของดวงดาวต่าง ๆ และไม่มีการ                                                               ค.ศ. ๑๖๑๖

เปล่ียนแปลงใด ๆ  ในหนังสือ On the                                                                       N i c c o l o   Z u c c h i   นั ก บ ว ช แ ล ะ
Heavens (De Caelo) ของอริสโตเติล                                                                     นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ออกแบบ
                                                                                                     และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์สะท้อน
อธิบายเอกภพโดยใช้แบบจ�ำลองที่มีโลก                                                                   แสงเป็นครั้งแรก ซึ่งช่วยให้เห็นแถบสี
เป็นศูนย์กลางและมีดาวเคราะห์โคจร                                                                     ตา่ ง ๆ ทขี่ นานกบั เสน้ ศนู ยส์ ตู รของผวิ ดาว
เป็นทรงกลมอยู่เปน็ ชัน้  ๆ                                                                           พฤหัสบดี

ราว ค.ศ. ๑๕๐๐                                  ค.ศ. ๑๖๐๙                                             ค.ศ. ๑๖๕๕

   Nicolaus Copernicus นักดารา-                   Galileo Galilei ใชก้ ลอ้ งโทรทรรศน์                   Christiaan Huygens นักฟิสิกส์
ศาสตร์ชาวโปแลนด์ เสนอทฤษฎีใหม่ว่า              ส่องเห็นผิวขรุขระของดวงจนั ทร์                        ชาวเนเธอร์แลนด์ ใช้กล้องโทรทรรศน์
ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ                                                                      หักเหแสงที่มีความยาวโฟกัส ๑๑ ฟุต
โดยมีโลกและดาวเคราะห์ต่าง ๆ โคจร                  กลอ้ งโทรทรรศนท์ เี่ ขาประดษิ ฐเ์ องนี้            สอ่ งเหน็ วงแหวนรอบดาวเสารซ์ ง่ึ เขาคดิ วา่
เป็นบริวารอย่รู อบดวงอาทิตย์                   ท�ำให้ได้เห็นส่ิงต่าง ๆ บนท้องฟ้า เช่น                เป็นแท่งของแข็ง เห็นดวงจันทร์ Titan
                                               ข้างขึ้นข้างแรมของดาวศุกร์ จุดบน                      ซึ่งเป็นดวงจันทร์บริวารที่ใหญ่ท่ีสุดของ
                                               ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์บริวารของดาว                      ดาวเสาร์ และเห็นดาวพุธโคจรตัดหน้า
                                               พฤหัสบดี ดาวฤกษ์จ�ำนวนมากในทาง                        ดวงอาทิตย์  Huygens เชื่อว่าเอกภพ
                                               ชา้ งเผอื ก ฯ ล ฯ ซง่ึ ลว้ นขดั ตอ่ คำ� สอนทมี่ ใี น  มีดาวทีม่ ีสิ่งมีชีวติ รูปร่างเหมือนบนโลก
                                               คัมภีร์ไบเบิล  การค้นพบของกาลิเลโอ
                                               สนับสนุนความคิดของโคเปอร์นิคัส ล้ม

                                               ฉบับที่ ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒                              นติ ยสารสารคดี 155
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152