Page 142 - Skd 298-2552-12
P. 142

กาลเิ ลโอขณะถกู ศาลศาสนาไตส่ วน
                                                                 ในปี ค.ศ. ๑๖๓๓

ตวั เองวา่  “Eppur si muove” แปลวา่  “จะยงั ไง ๆ โลกกย็ งั       ปรัชญาของวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะกลศาสตร์ที่เขาได้เคย
เคลอื่ นทีไ่ ด้อยู่ด”ี                                           ทดลองเม่ือ ๔๐ ปีก่อน  อีก ๑ ปีต่อมาก็ได้เขียนเรื่องการ
                                                                 เคลอ่ื นทท่ี ไ่ี มป่ รกต ิ (libration) ของดวงจนั ทร ์  และนก่ี ค็ อื  
ช่วงสุดท้ายของชีวิต                                              ผลงานดาราศาสตรช์ น้ิ สดุ ทา้ ยของกาลเิ ลโอ เพราะขณะนน้ั
                                                                 ตาท้ังสองข้างของเขาเริ่มเป็นต้อหิน ทำ� ให้มองเห็นอะไร ๆ 
   กาลิเลโอรู้สึกว่าถูกกระท�ำรุนแรงเกินกว่าเหตุโดย               ไมค่ อ่ ยชดั  จงึ ตอ้ งอยแู่ ตใ่ นบา้ น  เมอ่ื ตาใกลบ้ อดสนทิ  ศษิ ย์
“เพ่ือน” ที่ส่ังห้ามเขาท�ำงานวิชาการทุกอย่าง แต่กาลิเลโอ         ของกาลเิ ลโอ ๒ คนคอื  Vincenzo Viviani และ Evange-
ก็ต้องยอม  เม่ือเดินทางถึง Siena กาลิเลโอได้รับการ               lista Torricelli (ผู้ประดิษฐบ์ ารอมิเตอร์คนแรก) ได้เข้ามา 
ต้อนรับเป็นอย่างดีจากอาร์คบิชอป Ascanio Piccolomini              ท�ำหน้าท่ีเลขานุการให้อาจารย์ เช่นช่วยเขียนตามค�ำบอก
แตศ่ ตั รขู องกาลเิ ลโอกย็ งั ไมส่ ะใจและไมเ่ ลกิ รา จงึ ระดมคน  และปรนนิบัติอาจารย์  ในช่วงเวลานี้มีอาคันตุกะต่างชาต ิ
มาประณามกาลเิ ลโอเวลาไปไหนมาไหน  เหตกุ ารณน์ ที้ �ำให้           มาเยยี่ มกาลเิ ลโอบา้ ง เชน่  Milton กวแี หง่ องั กฤษ ผมู้ คี วาม 
กาลิเลโอรำ�่ ไห้ และเดินเตร็ดเตร่เหมือนคนเสียสติ  ย่ิงเม่ือ      เห็นอกเห็นใจกาลิเลโอมากจนถึงกับกล่าวว่า อิสรภาพเป็น
รู้ว่าค�ำพิพากษาลงโทษตนได้ถูกส่งไปเผยแพร่ทั่วยุโรปแล้ว           สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการแสวงหาความรู้ และการบีบบังคับคือ
กาลิเลโอจึงตัดสินใจขออนุญาตสันตะปาปาเดินทางกลับไป                การท�ำลายความรู้
เมือง Arcetri เพ่ือจะได้อยู่ใกล้ท่ีพึ่งทางใจสุดท้ายคือ
Maria Celeste ผเู้ ปน็ บตุ รสาว  สว่ นหนงั สอื  Dialogue นน้ั       ในป ี ๑๖๓๘ กาลเิ ลโอไดใ้ หล้ กู ศษิ ยท์ ดลองวดั ความเรว็
กถ็ กู สง่ั หา้ มเผยแพรจ่ นกระทงั่ ป ี ๑๘๒๒ (หลงั จากกาลเิ ลโอ   แสงโดยใหค้ นทงั้ สองยนื ถอื ตะเกยี งในระยะหา่ งกนั   กาลเิ ลโอ
เสียชวี ิตไปแลว้  ๑๘๐ ปี)                                        ตระหนักว่าถ้าให้คนแรกเปิดตะเกียง แล้วให้อีกคนจับเวลา
                                                                 ทนั ทที เี่ หน็ แสงจากตะเกยี งดวงแรก การรรู้ ะยะทางและเวลา
   การถกู กกั บรเิ วณหมายความวา่  เวลากาลเิ ลโอจะไปทใ่ี ด        จะท�ำให้รู้ความเร็วแสง และกาลิเลโอก็พบว่าเขาวัดเวลา 
ต้องขออนุญาตสันตะปาปาก่อน ซ่ึงบางคร้ังก็ไม่ได้รับ                ในการเห็นแสงตะเกยี งไมไ่ ด้
อนุญาต  แต่ถึงสถานการณ์จะล�ำบากยากเย็นปานใด 
กาลเิ ลโอก็ยงั คงทำ� งานวิทยาศาสตร์ต่อไปอย่างเงยี บ ๆ               ตลอดเวลาที่ถูกกักบริเวณ กาลิเลโอรู้สึกเหมือนถูก
                                                                 ตัดขาดจากโลกภายนอกอย่างส้ินเชิง แต่ได้อาศัย Maria
   ในป ี ๑๖๓๘ กาลเิ ลโอวยั  ๗๔ ปไี ดเ้ รยี บเรยี งหนงั สอื ชอื่  Celeste สง่ ยามาใหย้ ามเจบ็ ปว่ ย หรอื ในยามทร่ี สู้ กึ ซมึ เศรา้
Discourse on two New Sciences เป็นการรวบรวม                      นอนไม่หลับ เธอก็จะเขียนจดหมายมาปลอบโยนและให้ 

150 นติ ยสารสารคดี  ฉบับท่ี ๒๙๘ ธนั วาคม ๒๕๕๒
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147