Page 140 - Skd 298-2552-12
P. 140

มารดาของท่านดยุคผู้อุปถัมภ์กาลิเลโอ โดยได้อธิบาย                        (ใTนhปeี ๑A๖s๒sa๓yeกrา)ลซเิ ลง่ึ มโอเี นเขื้อยีหนาหเกนี่ยังวสกือบั เรวอ่ืิธีหงาIคl วSาaมgรgู้วiิทatยoาrศeาสตร์
ให้นางเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับศาสนา                     ทเ่ี น้นการสังเกต ตั้งสมมุติฐาน การทดลองเชิงปรมิ าณ
(จดหมายนี้ไม่ได้รับการตีพิมพ์จนกระท่ังปี ๑๖๓๖)  ช่วง                    เพอื่ สรุปเปน็ องคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั ธรรมชาติ
เวลานั้นกาลิเลโอวัย ๕๒ ปีได้ล้มป่วยด้วยโรคไขข้ออักเสบ
และรสู้ กึ เจบ็ หนา้ อกในบางเวลา ดงั นนั้ เมอ่ื เดนิ ทางกลบั จาก        เช่ือด้วย)  คนที่ ๒ คือ Salviati ผู้ที่เชื่อในโคเปอร์นิคัส   
โรม กาลิเลโอจึงฉวยโอกาสไปพักผ่อนที่วิลล่า Le Selve                      และคนที่ ๓ คือ Sagredo เป็นคนท่ีต้ังค�ำถามต่าง ๆ และ 
ของ Filippo Salviati เพอื่ นสนทิ ทม่ี ฐี านะดเี ปน็ การชวั่ คราว        มีใจเปิดกว้าง แต่ในที่สดุ ก็คล้อยตาม Salviati
กอ่ นจะยา้ ยไปทวี่ ลิ ลา่  Bellosquardo ไมไ่ กลจากเมอื ง Arcetri 
มาก  ความกังวลท�ำให้ผลงานวิทยาศาสตร์ของกาลิเลโอ                            ในปีท่ีหนังสือออกวางขายน้ัน ชาวอิตาลีให้การต้อนรับ
ลดลงมาก แต่เขาก็ยังสนใจหาวิธีปรับปรุงประสิทธิภาพ                        อย่างอบอุ่น  ความนิยมชมชอบของผู้คนท่ีมีต่อกาลิเลโอ
ของกล้องโทรทรรศน์และศึกษาอุปราคาของดวงจันทร์ของ                         ท�ำให้ศัตรูของกาลิเลโอโกรธแค้นมาก จึงได้ลุกฮืออีก 
ดาวพฤหสั บดี                                                            ครั้งหน่ึง และได้ยุยงสันตะปาปา Urban ท่ี ๘ ว่ากาลิเลโอ 
                                                                        ดูแคลนพระองค์ว่าโง่  อีกท้ังหนังสือเล่มน้ีสนับสนุน 
   ในป ี ๑๖๒๓ กาลเิ ลโอเขยี นหนงั สอื เรอ่ื ง Il Saggiatore             โคเปอรน์ คิ สั อยา่ งชดั แจง้  สนั ตะปาปาจงึ มบี ญั ชาใหก้ าลเิ ลโอ
(The Assayer) ซง่ึ มเี นอื้ หาเกยี่ วกบั วธิ หี าความรวู้ ทิ ยาศาสตร์   เขา้ ช้ีแจงดว้ ยข้อหาลบหลู่ศาสนาและเป็นคนนอกรีต
ทเ่ี นน้ การสงั เกต ตงั้ สมมตุ ฐิ าน การทดลองเชงิ ปรมิ าณ เพอ่ื
สรปุ เปน็ องคค์ วามรทู้ เี่ กยี่ วกบั ธรรมชาต ิ และไดอ้ ทุ ศิ หนงั สอื     ในวนั ท ่ี ๒๒ มถิ นุ ายน ค.ศ. ๑๖๓๓ กาลเิ ลโอวยั  ๖๙ ปี
เล่มนี้แก่สันตะปาปา Urban ท่ี ๘ หรือก็คือ Cardinal                      เดินทางไปที่ Convent of Minerva ในโรมเพ่ือเข้าเฝ้า 
Maffeo Barberini ผทู้ ส่ี นทิ สนมกบั กาลเิ ลโอมาก  Barberini            สันตะปาปา  แม้ว่าดยุคแห่งทัสคานีคิดจะทัดทานกาลิเลโอ
ผู้น้ีได้เคยขัดขวางสันตะปาปา Paul ท่ี ๕ ไม่ให้ประณาม                    ไม่ให้เดินทางไปโรม แต่ก็กลัวกองทัพของสันตะปาปาจะ 
กาลิเลโอเป็นคนนอกรีตมาแล้ว  นอกจากนี้ Barberini                         รกุ รานยดึ ทสั คาน ี  ในเบอ้ื งตน้ กาลเิ ลโอไดท้ ลู ขอความกรณุ า
ยงั เปน็ สมาชกิ ของ Accademia dei Lincei สมาคมเดยี วกบั                 จากสนั ตะปาปาวา่ จะถวายคำ� ชแี้ จงทฟี่ ลอเรนซ ์ เพราะกำ� ลงั
กาลเิ ลโอด้วย

   หลงั จากท่ีสันตะปาปา Urban ที่ ๘ ทรงดำ� รงตำ� แหน่ง 
ไม่ถึงปี พระองค์มีบัญชาให้กาลิเลโอเข้าเฝ้าท่ีโรม และได้
ตรสั ชน่ื ชมผลงาน The Assayer  กาลเิ ลโอจงึ ทลู วา่ จะเขยี น 
หนงั สอื เรอ่ื งการเปรยี บเทยี บเอกภพของปโตเลมกี บั โคเปอร-์
นิคัส และสันตะปาปาก็ได้เสนอแนะให้กาลิเลโอเขียนอย่าง
เปน็ กลาง คอื ไมต่ ำ� หนไิ บเบลิ  เพอ่ื จะไดช้ ว่ ยปกปอ้ งไมใ่ หถ้ กู
ประณาม และต้องไม่สนับสนุนโคเปอร์นิคัสอย่างออกหน้า
ออกตา เพราะกาลเิ ลโอไมม่ หี ลกั ฐานสนบั สนนุ อยา่ งสมบรู ณ์

   กาลเิ ลโอรสู้ กึ ยนิ ดที ส่ี นั ตะปาปาองคใ์ หมไ่ มท่ รงขดั ขวาง
เสรีภาพของนักวิทยาศาสตร์ในการคิดและแสดงออก จึง 
เดินทางกลับฟลอเรนซ์และเริ่มเขียนหนังสือที่ใฝ่ฝันมานาน
เปน็ ภาษาอติ าลเี พอื่ ใหค้ นทวั่ ไปเขา้ ใจ  ในป ี ๑๖๓๒ หนงั สอื
เรอื่ ง Dialogo sopra i due massimi sistemi del mondo 
(Dialogue Concerning the Two Chief World Systems) 
กป็ รากฏ  ขอ้ เขยี นนม้ี ตี วั ละคร ๓ คน  คนแรกคอื  Simplicio 
(Simplicus ในภาษาละตินแปลว่า “คนโง่”) ผู้ศรัทธาใน 
ค�ำสอนของอริสโตเติล (ที่สันตะปาปา Urban ท่ี ๘ ทรง 

148 นติ ยสารสารคดี  ฉบบั ท่ี ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145