Page 25 - Skd 298-2552-12
P. 25
๒๕๔๙ แล้ว เพราะหนังสือยังเล้ียงตัวเองไม่ได้ มากกวา่ โฆษณาสนิ คา้ ในหนงั สอื เรา แตเ่ รากม็ คี �ำถาม
ยังต้องให้คุณจุมพลช่วยมาตลอด ทั้งที่ต้ังเป้าไว้ว่า วา่ แลว้ คนอา่ นจะไดอ้ ะไร มนั ตอบโจทยส์ งั คมหรอื ไม”่
ภายใน ๑๐ ปีจะเริ่มเลี้ยงตัวเองได้ ในฐานะคน
ท�ำงานเรารู้สึกว่าไม่ถูกต้องที่ยังต้องพึ่งพาคุณจุมพล ถงึ วนั นอี้ จั ฉราวดบี อกเราวา่ สำ� หรบั เธอ พลเมอื ง
ก็พยายามปรับตัว มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น เหนอื ยงั ไมต่ าย เพยี งแตร่ อเวลารอจงั หวะอยมู่ ากกวา่
ระหวา่ งฝา่ ย เนน้ งานฝา่ ยโฆษณามากขน้ึ ปรบั เนอ้ื หา
ให้ดึงดูดมากขึ้น มีเร่ืองเบา ๆ มาลง แต่ข่าวเจาะ “บางคนมาบอกว่าลงขันท�ำต่อไหม แต่ดิฉัน
ยงั พยายามทำ� เหมอื นเดิม” มองว่าการท�ำส่ือสิ่งพิมพ์ ต้นทุนคือค่ากระดาษ
คา่ การจดั การ เวอรช์ นั ออนไลนเ์ รากค็ ดิ แตม่ นั ไมใ่ ช่
ทว่าในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๑ พลเมืองเหนือ ค�ำตอบ แน่นอนต้นทุนต�่ำที่สุด แต่มันไม่ตอบโจทย์
ก็ต้องยุติบทบาทในฉบับที่ ๓๖๒ (๒๒-๓๑ ธันวาคม เพราะเขา้ ไมถ่ งึ ชาวบา้ นทย่ี งั ไมม่ อี นิ เทอรเ์ นต็ ซงึ่ กเ็ ปน็
๒๕๕๑) ประเด็นใหญ่พอสมควรในการขับเคล่ือนอะไร
บางอย่าง อีกข้อหนึ่งคือ ถ้ามีนายทุนคนอ่ืนท่ีไม่ใช่
“ตอนน้ันเรายังวางแผนการทำ� งานของปี ๒๕๕๒ คณุ จมุ พลบอกวา่ จะลงทนุ ใหเ้ รากค็ งไมร่ บั คณุ จมุ พล
อยดู่ ว้ ยซำ้� แตก่ เ็ ขา้ ใจเพราะตลอดป ี ๒๕๕๑ การเมอื ง เป็นนักธุรกิจที่ดี ไม่มีวาระซ่อนเร้น ต่างกับนายทุน
วนุ่ วาย ธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ วไดร้ บั ผลกระทบมาก เลยมาคยุ คนอ่ืน ๆ ท่ีอยากมาซ้อื หัวหนังสอื ไป”
กันและประเมินว่าปี ๒๕๕๒ หนักแน่ ก็ได้ข้อยุติว่า
เราจะปิดฉาก พลเมืองเหนือ โดยส่วนตัวเห็นใจ การปิดตัวของ พลเมืองเหนือ อาจสะท้อนว่า
คุณจุมพลที่ต้องลงทุนมากขนาดน้ี เหมือนเอาเงินมา การลงทุนในส่ือสิ่งพิมพ์คุณภาพมาถึงยุคตะวันตกดิน
เล่นตลก ขณะเดียวกันก็เสียดายพ้ืนท่ีส่ือแบบที่ หรอื ไม ่ อัจฉราวดบี อกเราวา่
พลเมืองเหนือ เคยให้กับเชียงใหม่จะหายไป ท้ังท่ีมี
ประเดน็ อีกมากทน่ี า่ จะได้รับการนำ� เสนอ” “คิดว่าสื่อสิ่งพิมพ์ยังไม่หมดยุค มันได้เปรียบ
ส่ืออื่นในแง่ความน่าเชื่อถือ เพียงแต่ตอนนี้มันโดน
อจั ฉราวดสี รปุ บทเรยี นจากการทำ� งานไวว้ า่ “มอง เทคโนโลยีใหม่ ๆ บีบให้ต้องปรับตัว นอกจาก
ในแง่ดี เราไม่เคยเสียใจที่ท�ำ พลเมืองเหนือ เพราะ เวอร์ชันกระดาษ เราอาจต้องท�ำแบบออนไลน์ด้วย
เราไดท้ ำ� ขา่ วทอ้ งถนิ่ ในแบบทต่ี า่ งไปจากเดมิ พลเมอื ง อาจตอ้ งขยายทท่ี างไปสรา้ งสอื่ ของตวั เองเพม่ิ ไปสทู่ วี ี
เหนือ อาจเป็นหนังสือวิเคราะห์ข่าวรายสัปดาห์ระดับ วิทยุ ถ้ากลุ่มอื่น ๆ ในเชียงใหม่มีศักยภาพก็อยากให้
ภมู ภิ าคเลม่ แรกของไทย บางคนบอกวา่ เหมอื น เนชน่ั ท�ำสื่อสิ่งพิมพ์ลักษณะนี้ข้ึนมาอีก เพราะมันเป็น
สุดสัปดาห์ หรือ มติชนสุดสัปดาห์ ของเชียงใหม่ เครอื่ งมอื ในการสง่ เสยี งของคนเชยี งใหม ่ แตก่ ค็ งตอ้ ง
เพราะเทา่ ทเี่ หน็ สอื่ ทอ้ งถนิ่ มกั ทำ� เปน็ แทบลอยด ์ เสนอ อาศัยองค์ประกอบหลายอย่าง อาศัยเพียงรายได ้
ข่าวเบา ๆ แต่เราได้ยกระดับผู้ส่ือข่าวท้องถ่ิน ท�ำให้ จากการทำ� สื่อส่ิงพมิ พอ์ ยา่ งเดียวคงยากแลว้ ในสว่ น
เห็นว่าถ้าตั้งใจจริงก็สามารถพัฒนาได้ ครั้งหน่ึงมี ของผู้อ่านโดยเฉพาะคนเชียงใหม่ ถ้าอยากดูแลเมือง
นักวิจัยจากต่างประเทศเข้ามาท่ีส�ำนักงานแล้วซ้ือไป การจะหวังพึ่งสื่อสิ่งพิมพ์อย่างเดียวคงไม่ได้ ก็ต้อง
ตงั้ แตฉ่ บบั แรก ทำ� ใหห้ นงั สอื เราไปอยใู่ นหอ้ งสมดุ สภา หาทางสอ่ื สารความตอ้ งการของตนเองผา่ นเครอ่ื งมอื
คองเกรสและหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั วสิ คอนซนิ -เมดสิ นั อื่น ๆ ดว้ ย”
สหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ ตา่ งกบั เมอื งไทยทหี่ อ้ งสมดุ ไมส่ นใจ
ส่ิงพิมพ์แบบนี้ บ้านเรามีแค่กฎหมายว่าต้องส่งให ้
หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต ิ ตำ� รวจสนั ตบิ าล และหอสมดุ
แห่งชาติ ขณะท่ีหอสมุดในต่างประเทศจะเข้ามาเป็น
สมาชกิ หนงั สอื ลักษณะนเ้ี พอื่ สนับสนุนการทำ� งาน
“ในแง่การบริหารจัดการ คงต้องยอมรับว่าเรา
ยังไม่มืออาชีพพอจะแข่งกับส่ืออื่น ถ้าลงแรงในส่วน
ของการหาโฆษณาก็อาจยังอยู่ต่อไปได้อีกระยะ
เราเคยเจอปัญหาว่าลูกค้าอยากลงเรื่องของตัวเอง
ฉบับที่ ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒ นติ ยสารสารคดี 25