Page 26 - Skd 298-2552-12
P. 26
โลกใบใหญ่ โบราณคดี คธนณิกะโเบลริศาชณาญคดฤีทมธห์ าวิทยาลัยศลิ ปากร : รายงาน
เครอื่ งประดบั โบราณ
ทบี่ า้ นพรหมทนิ ใต้
เมอื่ กลางป ี ๒๕๕๐ และกลางเดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๕๒
ชนิด เช่น ลูกปัด ต่างหู (ทั้งแบบห้อยติ่งหูและแบบ
ท่ีผ่านมา ข้าพเจ้าได้ท�ำการขุดค้นแหล่งโบราณคดี เสียบรูเจาะหู) จ้ี ก�ำไล (ทั้งก�ำไลแขน ก�ำไลข้อมือ
พรหมทินใต้ ต�ำบลหลุมข้าว อ�ำเภอโคกส�ำโรง และก�ำไลข้อเท้า) แหวน (ท้ังแหวนน้ิวมือและแหวน
จังหวัดลพบุรี ซึ่งเป็นหนึ่งในแหล่งโบราณคดีส�ำคัญ นิ้วเท้า) และเข็มขัดหรือสายรัดเอว เครื่องประดับ
ในภาคกลางของประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชีย ชนดิ ตา่ ง ๆ เหลา่ นยี้ งั มคี วามหลากหลายในดา้ นรปู ทรง
ตะวันออกเฉียงใต้ เน่ืองจากมีหลักฐานโบราณวัตถุ ลวดลาย วสั ด ุ และขนาดอกี ดว้ ย ซง่ึ ความหลากหลาย
และร่องรอยแห่งอดีตที่สืบย้อนไปได้นับพันปี ทั้งมี นอ้ี าจสมั พนั ธก์ บั วฒั นธรรม อตั ลกั ษณ ์ และสถานภาพ
ความโดดเด่นและมีคุณค่าส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ทางสังคมของผคู้ นแตล่ ะกลุ่มก็ได้
โบราณคดรี ะดบั นานาชาตกิ ว็ า่ ได ้ เนอื่ งจากมหี ลกั ฐาน
ท่ีแสดงถึงการติดต่อแลกเปล่ียนข้ามชาติ (ข้าม ท่ีแหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ซึ่งมีอายุเก่าแก่
วัฒนธรรม) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับอินเดีย และยัง ประมาณ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว หรือตรงกับ
เป็นแหล่งโบราณคดีส�ำคัญแหล่งหน่ึงที่แสดงถึง ยุคเหล็ก (Iron Age) ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้
การเปลี่ยนผ่านจากสังคมก่อนประวัติศาสตร์เข้าสู่ ข้าพเจ้าขุดค้นพบเครื่องประดับหลายชนิดและมี
สังคมหรือยุคประวัติศาสตร์แรกเร่ิมในเอเชีย จำ� นวนมากพอสมควร สว่ นมากพบรว่ มกบั โครงกระดกู
ตะวันออกเฉยี งใต้ มนษุ ยโ์ บราณหรอื พนื้ ทฝี่ งั ศพ แตเ่ ครอ่ื งประดบั บางชนดิ
ก็พบท้ังในพื้นที่ฝังศพและในบริบทท่ีเป็นที่อยู่อาศัย
หลักฐานประเภทหน่ึงที่พบในแหล่งโบราณคดี หรือพ้ืนที่บ้านเรือน บางช้ินยังมีร่องรอยผ่านการ
พรหมทินใตก้ ็คือ เครื่องประดับ ใช้งานมาแล้ว บางชิ้นแตกหักแต่ก็ยังได้รับการ
เก็บรักษาดูแลอย่างดีและถูกน�ำมาใช้งานอีก จาก
กอ่ นอนื่ ขอบอกกอ่ นวา่ หลกั ฐานทอ่ี าจเรยี กไดว้ า่ บรบิ ททค่ี น้ พบ (แหลง่ ฝงั ศพและที่อยู่อาศัย) แสดงว่า
เป็นเครื่องประดับที่คนโบราณในแถบถิ่นน้ีเม่ือราว เครื่องประดับดังกล่าวมีความส�ำคัญเชิงพิธีกรรม
๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ ปีมาแล้วท�ำขึ้น (และน�ำเข้ามา ในอดีต หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเครื่องประดับที่พบอาจ
จากท่ีอื่น) และอาจใช้ประดับร่างกาย มีหลากหลาย เปน็ ทงั้ สง่ิ ของทใ่ี ชป้ ระดบั รา่ งกายในระหวา่ งทเี่ จา้ ของ
ยังมีชีวิตอยู่ และใช้ในพิธีกรรมเม่ือเจ้าของเสียชีวิต
แผนที่ต�ำแหนง่ ไปแลว้
แหลง่ โบราณคดี
พรหมทนิ ใต ้ เคร่อื งประดบั ท่ีพบสามารถจำ� แนกชนดิ ไดด้ ังนี้
ลกู ปดั นบั เปน็ เครอ่ื งประดบั ยอดนยิ มอยา่ งหนง่ึ
(ออกแบบและจดั ท�ำโดย ทพ่ี บในแหลง่ โบราณคดแี หง่ น ี้ มที งั้ ทพ่ี บกระจายตาม
สนั ถว ี นยิ มทรพั ย์) ช้ันดินท่ีเป็นที่อยู่อาศัย และพบร่วมกับโครงกระดูก
มนุษย์ แต่ส่วนมากจะพบในบริบทท่ีเป็นแหล่งฝังศพ
26 นติ ยสารสารคดี และมักพบเป็นกลุ่มกระจุกอยู่ตามล�ำตัวของผู้ตาย
หรืออยู่ในลักษณะท่ีเรียงกันเป็นเส้นหรือสายสร้อย
บริเวณลำ� คอ ไมก่ ็สรอ้ ยข้อเท้า ซึ่งเห็นได้ชัดวา่ ลูกปัด
เหล่าน้ีใชส้ ำ� หรบั การประดับตกแตง่ รา่ งกาย
มีสร้อยลูกปัดเส้นหนึ่งน่าสนใจทีเดียว น่ันก็คือ
เป็นสร้อยท่ีรวมเอาลูกปัดหินรูปทรงต่าง ๆ ร้อยไว ้
ด้วยกัน จ�ำนวนทั้งหมด ๔๗ ลูก มีท้ังลูกปัดทรงกลม
ฉบับที่ ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒