Page 30 - Skd 298-2552-12
P. 30

โลกใบใหญ่ โบราณคดี

ต่างหูหินอ่อน                      แหวน  พบไม่มากนัก อาจจะเป็นเคร่ืองประดับ                 หินอ่อนรูปวงกลมฝังอยู่บริเวณหูขวา ส่วนบริเวณ
และลูกปัดหนิ สเี ขียว           ส�าหรับคนบางกลุ่ม หรือบางชนชั้น หรือบางเพศ                  ใกล้ตา� แหน่งหซู า้ ยมตี า่ งหูทา� จากแก้วฝงั อยูด่ ว้ ย
                                ท่ีเป็นผู้ใหญ่โดยเฉพาะ (ยังไม่เคยพบแหวนในแหล่ง
(ภาพ : ธนกิ  เลศิ ชาญฤทธ์)      ฝังศพเด็ก)  แหวนทั้งหมดที่ข้าพเจ้าขุดค้นได้ล้วน                เคร่ืองประดับท่ีกล่าวมาข้างต้นคงเป็นสิ่งของ
                                มาจากแหลง่ ฝงั ศพและทา� ดว้ ยสา� รดิ  มที ง้ั แหวนนว้ิ มอื  สว่ นตวั  หรอื สมบตั สิ ว่ นตวั ทม่ี คี วามหมายและมคี ณุ คา่
หมายเหตุ : การขุดค้น            และแหวนนิ้วเท้า  พบในลักษณะที่สวมนิ้วมือและ                 ส�าหรับผู้ครอบครองในสมัยน้ัน และเป็น “สมบัติ” 
ในปี ๒๕๕๐ ได้รับการ             นว้ิ เทา้ ของผตู้ าย และสวมเปน็ ชดุ  นว้ิ หนง่ึ อาจมหี ลาย  ท่ีใครก็อยากมี  อาจกล่าวได้ว่าบางคนหรือบางกลุ่ม 
ส นั บ ส นุ น จ า ก มู ล นิ ธิ  วง อยา่ งน้อย ๕ วงขึ้นไป                                    ซ่ึงอาจจะเป็นหัวหน้าชุมชน ผู้น�า หรือคนท่ีม่ังคั่ง 
กรุงเทพประกันภยั  และ                                                                       ใชเ้ ครอื่ งประดบั ในการแสดงอตั ลกั ษณแ์ ละสถานภาพ
การขุดค้นในปี ๒๕๕๒                 ต่างหู  พบไม่มากนัก แต่อาจมีนัยส�าคัญในเชิง              ของตวั เอง หรอื เปน็ ไปไดว้ า่ เครอ่ื งประดบั ชว่ ยเสรมิ สรา้ ง
ได้รับทุนจากส�านักงาน           เพศสภาพเช่นเดียวกับแหวน นั่นก็คือ ต่างหูอาจเป็น             ความเป็นตัวตน บารมี และอ�านาจของผู้ครอบครอง
กองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั      เคร่ืองประดับในพิธีกรรมเฉพาะกลุ่มบุคคล หรือ                 ให้โดดเด่นขึ้น  ดังน้ันจึงไม่น่าแปลกใจว่าผู้คนใน
ขอขอบคณุ มา ณ โอกาส             เฉพาะเพศชายเทา่ นนั้ กไ็ ด ้  ตา่ งหทู พี่ บจากการขดุ คน้   สมัยโบราณจ�านวนมากไขว่คว้าหาเครื่องประดับมา
นี้                             ท่ีแหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้มีเพียง ๑ คู่ โดยพบ               ครอบครองและสวมใสแ่ มว้ า่ จะไดม้ ายากเยน็ แสนเขญ็
                                รว่ มกบั โครงกระดกู ผชู้ าย (คนเดยี วกนั กบั ทส่ี วมกา� ไล  กต็ าม ดงั จะเหน็ วา่ สง่ิ ของทเ่ี ปน็ เครอื่ งประดบั มหี ลาก
                                งาช้างและก�าไลเปลือกหอย) บริเวณหูซ้าย ๑ ข้าง                หลายประเภท ซึ่งล้วนแต่เป็นประเภทที่เมื่อสวมใส่
                                และหขู วา ๑ ขา้ ง  เปน็ ตา่ งหรู ปู วงกลมชนดิ หอ้ ยตดิ หู   แลว้ มองเห็นไดง้ ่ายจากภายนอก
                                ท�าจากหินอ่อนสีขาวนวล  ประเพณีการใช้ต่างหู
                                คล้ายกันน้ียังพบท่ีแหล่งโบราณคดีบ้านโปงมะนาว                  นอกจากนเี้ ครอ่ื งประดบั ยงั ทา� จากวสั ดหุ ลายชนดิ  
                                อ�าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ซึ่งนักโบราณคดี               วัสดุหรือวัตถุดิบบางชนิดเป็นของที่น�ามาจากต่างถิ่น 
                                ขุดพบโครงกระดูกมนุษย์เพศชายที่มีต่างหูท�าจาก                และหาไม่ได้ในท้องถิ่น เช่น แก้ว หอยทะเล (เช่น
                                                                                            หอยมือเสือและหอยกาบขนาดใหญ่)  และหินก่ึง
                                                                                            อัญมณี (เช่น โมรา โมกุล หินอ่อน และหินตระกูล
                                                                                            หยก)  วัสดุบางอย่างนอกจากหายากและเป็นของ
                                                                                            ต่างถิ่นแล้ว ยังต้องใช้เทคนิคพิเศษและทักษะฝีมือ 
                                                                                            “ขนั้ เทพ” ในการผลติ  เชน่  ลกู ปดั แกว้  ลกู ปดั หนิ  (แค่
                                                                                            เจาะรูลูกปัดก็นับว่ายากและใช้เวลานานมาก) และ
                                                                                            เคร่ืองประดับท่ีท�าจากส�าริด (ซึ่งต้องใช้เทคนิคท่ี
                                                                                            ยุ่งยากในการขึ้นรูปและตกแต่ง) และวัสดุบางอย่าง
                                                                                            ก็ได้มายาก เชน่  งาชา้ ง เปน็ ต้น

                                                                                               เคร่ืองประดับโบราณดังกล่าวช่วยให้เราเห็น
                                                                                            ภาพชวี ติ และวฒั นธรรมอกี แงม่ มุ หนง่ึ ของผคู้ นในอดตี
                                                                                            เมื่อราว ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ในดินแดนแถบ
                                                                                            ภาคกลางของประเทศไทยและเอเชียตะวันออก
                                                                                            เฉียงใต้โดยรวม ว่าเม่ือคร้ังกระโน้นผู้คนแถบนี้
                                                                                            มีประเพณีวัฒนธรรมท่ีเป็นอัตลักษณ์ของตัวเอง 
                                                                                            มีพัฒนาการทางวัฒนธรรม (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
                                                                                            วัฒนธรรมการประดับตกแต่งร่างกาย ความงาม 
                                                                                            หรือสุนทรียะ) และเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าไม่แพ้ที่ใด
                                                                                            ในโลก  มีความห่วงหาอาวรณ์ ใส่ใจญาติมิตรและ
                                                                                            ผู้คน หรืออาจค�านึงเรื่องสังคม (social care) 
                                                                                            มากกว่าเรื่องส่วนตัวด้วยซ้�าไป  และเครื่องประดับ
                                                                                            กน็ บั เปน็ มรดกวฒั นธรรมในฐานะคณุ คา่ เชงิ สญั ลกั ษณ์
                                                                                            และคุณค่าในเชิงการแลกเปล่ียนในสังคมครั้งอดีต
                                                                                            นานมาแล้วด้วยเชน่ กัน

๓๐ นติ ยสารสารคดี               ฉบับท่ี 2๙๘ ธนั วาคม 2๕๕2
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35