Page 156 - Skd 381-2559-11
P. 156
วนั หมดอายขุ องเราไมเ่ ท่ากนั แต่เม่ือฉันยืนกรานกับเธอว่า พอถึงวันหมดอายุ อาหารก็
ไม่เห็นจะเคยเสียจริง ๆ สักที พ่ียุ้ยจึงยอมเผยเร่ืองทางเทคนิคให้ฉัน
ฉนั สงั เกตวา่ อาหารสำ� เรจ็ รปู สว่ นใหญจ่ ะระบ ุ “วนั หมดอาย”ุ ฟังว่าการก�ำหนดวันหมดอายุจะก�ำหนดล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ค่า
(expiry date) แต่อาหารอีกหลายชนิดก็ใช้ค�ำว่า “ควรบริโภคก่อน” ความปลอดภัย (safety factor) หากผู้ผลิตถูกสุ่มตรวจก็จะมีความ
(best before/best by) และฉนั ยงั สงั เกตตอ่ ไปอกี วา่ แทบไมม่ อี าหาร เส่ียงนอ้ ยท่ีจะเจออาหารเสยี ก่อนวนั หมดอาย ุ และการก�ำหนดวนั ไว้
ชนิ้ ไหนหมดอายตุ ามวนั ทรี่ ะบไุ วจ้ รงิ ๆ สกั ครงั้ เดยี ว...คณุ คงเรมิ่ สงสยั ลว่ งหนา้ ยงั ชว่ ยเพมิ่ ความปลอดภยั ใหแ้ กผ่ บู้ รโิ ภคดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม
เหมอื นฉนั แลว้ สิ การก�ำหนดวันหมดอายุสินค้าไม่ได้มีหลักเกณฑ์ท่ีตายตัว เพราะ
สนิ คา้ แตล่ ะชนิดแตกต่างกนั
“จริง ๆ แล้วท้ังสองค�ำนี่มันต่างกันยังไง และวันหมดอายุ
ที่แท้จริงคอื เม่อื ไรกันละ่ เน่ีย ?” “อย่างนมก็มีหลายแบบ นมพาสเชอไรซ์จะใช้ความร้อน
ในการฆ่าเช้ือน้อย ๆ จะเห็นว่านมพาสเชอไรซ์ต้องแช่เย็นตลอด
จนั จริ า ประภากรณ ์ หรอื พยี่ ยุ้ นกั กำ� หนดอาหารสาวมาด แบบน้ีจะยังมีคุณค่าทางอาหารมาก แต่เม่ือถึงวันหมดอายุปุ๊บเรา
คณุ หมอ ประจำ� หนว่ ยโภชนศาสตรค์ ลนิ กิ โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้ ไมค่ วรกนิ ตอ่ เลย เพราะมนั ไมไ่ ดถ้ กู ฆา่ เชอื้ มาทงั้ หมด แตถ่ า้ เปน็ นม
รอให้คำ� ตอบอยูแ่ ลว้ ยูเอชที จะเห็นว่าไม่ต้องแช่ตู้เย็น เก็บที่อุณหภูมิปรกติได้ เพราะว่า
“วันหมดอายุจริง หรือ expiry date หมายความว่าอาหาร
ไม่สามารถที่จะทานได้หลังจากวันท่ีก�ำหนดแล้ว แต่ผลิตภัณฑ์ที่
เขียนว่าควรบริโภคก่อน ถ้าถึงวันท่ีระบุแล้วจะยังไม่หมดอายุหรอก
ถา้ ไมม่ ีอาชพี ตรงนี้ เศษอาหารจะไปไหน...เหมือน
เพยี งแตว่ า่ ลกั ษณะของอาหารชนดิ นน้ั อาจจะเปลยี่ นไปจากเดมิ เชน่ ความร้อนฆ่าเชื้อมาระดับหน่ึงแล้ว ถ้าหมดอายุประมาณ ๑-๒ วัน
สีหรือกลิ่นเปลี่ยน ขนมจากท่ีกรอบอาจจะไม่กรอบแล้ว แต่ถามว่า ก็ยังกินต่อได้” ผู้เช่ียวชาญอธิบายเรื่องวันหมดอายุท่ีสัมพันธ์กับ
หมดอายุไหม มันยังไม่หมดอายุ” พี่ยุ้ยชี้แจงความแตกต่างระหว่าง กระบวนการผลิตใหฉ้ ันฟังอยา่ งงา่ ย ๆ
คำ� ทรี่ ะบไุ ว้
นอกจากน้ีวันหมดอายุของอาหารยังข้ึนอยู่กับวิธีการเก็บ
รกั ษา ความถข่ี องการเปดิ กนิ หรอื หบี หอ่ ทเ่ี ราเกบ็ อกี ดว้ ย ถา้ เปดิ กนิ
บ่อยหรือเก็บในที่อุณหภูมิสูง อาหารจะบูดเน่าเร็วกว่า เรียกได้ว่า
ข้นึ อยกู่ บั ปจั จยั ท้ังหมดที่เอ้อื ต่อการเจรญิ เตบิ โตของเชอื้ โรค
และวันหมดอายุของอาหารยังขึ้นอยู่กับ “ร่างกายของเรา”
อีกด้วย ถ้าเรามีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรงหรือท้องเสียบ่อย ๆ อาหารที่มี
เชื้อโรคน้อยนิดก็อาจเป็นอันตรายได้ ดังนั้นเพราะสุขภาพที่ต่างกัน
วันหมดอายุทแี่ ท้จรงิ ของอาหารส�ำหรับแต่ละคนจึงไม่เทา่ กนั
ความคิดว่า เผ่ือไว้ก่อน ดีกว่าขาด
ท�ำให้ครอบครัวส่วนใหญ่ซ้ืออาหารมา
เก็บตุนไว้เกินความจ�ำเป็น
154 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙