Page 154 - Skd 381-2559-11
P. 154

มูลค่าของเศษอาหาร                                                              พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง
                                                                                      “อาหารในโรงพยาบาลมกั จะเปน็ ขา้ วตม้  โจก๊  หรอื ซปุ  เศษ
       เราเดินทางมาถึงสุนทรพัฒนาฟาร์ม  จังหวัดอ่างทอง  ท่ีนี่
มีบ่อเล้ียงปลาขนาดใหญ่สองบ่อและเล้าคอนกรีตเลี้ยงหมูอยู่ริม                     อาหารจากโรงพยาบาลจึงมักจะมีน�้ำเยอะ เวลาขายจะต้องมากรอง
บ่อปลาทั้งสองด้าน ต้นไม้รอบ ๆ พล้ิวไหวเล็กน้อยตามสายลมท่ีพัด                   น�้ำออกก่อน  หรือเติมเนื้อเข้าไป   แต่ถ้าเป็นเศษอาหารจากโรงงาน
อ่อน ๆ  แตย่ งั ไมท่ นั ทฉี่ นั จะก้าวลงจากรถ กล่ินเหมน็ เปร้ยี วแรง ๆ ก็      หรือเรือนจ�ำ  เขาจะเรียกว่า  ‘อาหารสวย’  คือมีน�้ำน้อย  แบบน้ีเราก็
ปะทะเข้าจมูกอย่างจัง  ต้นทางของกล่ินคือเศษอาหารที่บรรจุอยู่ใน                  สามารถขายได้เลย”
ถังสฟี า้ ตง้ั เรียงรายเต็มรถกระบะ
                                                                                      อมุ้ อธบิ ายขณะคมุ คนงานใชต้ ะขอเกยี่ วถงั เศษอาหารเทลง
       มณฑิตา สุขสง่า หรือ อุ้ม สาววัยรุ่นผู้สืบทอดกิจการของ                   ในบ่อ ฝูงปลาสวายวา่ ยมาแยง่ กนั กนิ จนแนน่ ขนดั
ครอบครัวในการรับซ้ือ-ขายเศษอาหาร  ต้อนรับเราอย่างเป็นกันเอง
เธอเล่าใหฟ้ งั ถงึ จุดกำ� เนดิ ธุรกจิ น้ีว่า                                          อาหารกว่า  ๑๐  ถังหายไปในพริบตา  เหลือเพียงเศษขยะ
                                                                               ท่ีลอยขึน้ มาเท่านั้น
       “จริง ๆ แล้วที่บ้านอุ้มทำ� ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ค่ะ ท�ำมาต้ังแต่รุ่น
คุณป่แู ล้ว ป่กู ็เลี้ยงหมู ปลา และไก่  ส�ำหรับธุรกิจรับซื้อเศษอาหาร                  “โดยปรกติแต่ละที่ก็จะคัดแยกเศษขยะมาแล้วระดับหนึ่ง
คุณปู่เริ่มมาจากการเก็บเศษอาหารจากวัด  บางวันมีคนมาท�ำบุญ                      นอกจากบางครั้งถ้าเราเห็นว่าในเศษอาหารมีขยะปนเยอะเราก็จะ
เยอะมาก พระทา่ นกจ็ ะเรยี กชาวบา้ นมาเกบ็ อาหารเหลอื เอาไปเลย้ี ง              หยบิ ออกกอ่ น หรอื ถา้ มขี ยะสะสมในบอ่ ปลามากกจ็ ะทำ� ใหน้ ำ้� เสยี ได”้
สัตว์ของตัวเอง  บางทีเราได้มาเยอะใช้ไม่หมดก็แบ่งให้คนอ่ืนไป                    เธอเสรมิ พลางชใี้ ห้ดกู ระชอนท่ใี ช้ตักเศษขยะออกจากบอ่
มันกพ็ ฒั นามาจนทกุ วนั น้ี”
                                                                                      ฉันถามอุ้มถึงความรู้สึกของคนที่ท�ำงานกับขยะ  ของเหลือ
       เศษอาหารแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ  คือเศษอาหาร                         ทไี่ มม่ ใี ครตอ้ งการ  หญงิ สาวยม้ิ นอ้ ย ๆ กอ่ นจะบอกวา่ เธอทำ� ธรุ กจิ นี้
ท่ีเหลือจากการบริโภค  และเศษอาหารที่เกิดจากกระบวนการผลิต                       ด้วยพื้นฐานของความช่วยเหลือเก้ือกูล  มิใช่บนพื้นฐานของก�ำไร
ทางอุตสาหกรรม  เช่น  เศษขนมปัง  เส้นหม่ีหัก ๆ  รวมถึงเศษอาหาร                  เพยี งอย่างเดียว
จากอุตสาหกรรมของสด  เช่น  ไส้ไก่  เศษเน้ือจากการตัดแต่งแฮม
รวมไปถึงสินค้าตกเกรด  เช่น  ปลาแผ่นท่ีตัดไม่ได้ขนาด  หรือปูอัด                        “มันเป็นลักษณะการช่วยก�ำจัดด้วยนะ  ถ้าไม่มีอาชีพตรงนี้
ทีข่ ้นึ รปู ไม่สวย เปน็ ตน้                                                   เศษอาหารจะไปไหน   บางคนถึงกับขอร้องให้ช่วยมาเก็บไปที  เขา
                                                                               ยกให้ฟรี ๆ  ...เหมือนเราเป็นคนท�ำความสะอาดประเทศเลยนะ”
       แนน่ อนวา่ เศษอาหารแตล่ ะประเภทยอ่ มมรี าคาแตกตา่ งกนั                  (หัวเราะ)
ธุรกิจของอุ้มเน้นการประมูลเหมาเศษอาหารท่ีเหลือจากการรับ
ประทาน ซง่ึ มีราคาถูกท่สี ดุ  คือกิโลกรมั ละ ๓ บาท เพ่ือจ�ำหน่ายต่อ                   หากนกึ ถงึ ภาพระบบนเิ วศทเ่ี คยเรยี นสมยั มธั ยมฯ ฉนั คดิ วา่
ให้แกเ่ กษตรกรรายยอ่ ย                                                         ธุรกิจรับซื้อขายเศษอาหารก็เปรียบเสมือน  “ผู้ย่อยสลาย”  ที่คอย
                                                                               ย่อยซากพืชซากสัตว์ต่าง ๆ  ให้กลายเป็นสารอาหารส�ำหรับผู้ผลิต
       การซื้อขายเศษอาหารยังมีรายละเอียดมากกว่าท่ีฉันคิด                       ในขณะที่เรามักให้ความสนใจกับผู้ผลิตและผู้บริโภค  แต่ที่จริงแล้ว
เอาไวม้ าก เพราะเศษอาหารจากสถานทตี่ า่ ง ๆ มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั               ผยู้ อ่ ยสลายทเี่ ราหลงลมื ไปตา่ งหากทที่ ำ� ใหก้ ารหมนุ เวยี นสารอาหาร
และตอ้ งมกี ารจดั การทร่ี วดเรว็ กอ่ นจะเนา่ บดู  ยงั ไมร่ วมถงึ บรรจภุ ณั ฑ์  ในห่วงโซน่ ัน้ สมบรู ณ์
และกระบวนการขนส่งท่ีครอบคลุมถึงสามจังหวัด  คือกรุงเทพฯ

                    เศษอาหารท่ีคนกินเหลือตามศูนย์อาหาร   
                    ส่วนหน่ึงถูกน�ำไปใช้เล้ียงสัตว์  เช่นหมูหรือปลา 
                    ตามฟาร์มเลี้ยงต่าง ๆ

152 พฤศจิกายน ๒๕๕๙
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159