Page 84 - Skd 381-2559-11
P. 84

 

  หนังสอื บนแผง    ขา้ วตังหน้าต้งั  : รายงาน

           ปญั ญาแหง่ ยคุ สมยั  : 
           คณุ นลิ วรรณ ปน่ิ ทอง

    ปญั ญาแหง่ ยคุ สมยั  :            มนี าคม ๒๕๓๙ นติ ยสารสตรสี าร ฉบบั ท ี่ ๕๒ ของปที  ่ี ๔๘  ออกวางแผงเปน็ ฉบบั สดุ ทา้ ย  
    คณุ นลิ วรรณ ปน่ิ ทอง             ตลอดอายุขัยของสตรีสาร คณุ นิลวรรณ ปิ่นทอง รับหนา้ ท่บี รรณาธิการมาถงึ  ๔๗ ปี  
                                      ตง้ั แตป่ ี ๒๔๙๒ ตราบจนฉบบั สุดท้ายเม่อื ทา่ นมอี ายถุ ึง ๘๒ ปี
    สกุ ัญญา หาญตระกลู
    สำ� นกั พมิ พซ์ ิลคเ์ วอร์ม ๒๕๕๘  เน่ืองในวาระ ๑ ศตวรรษชาตกาลของคุณนิลวรรณ ปิ่นทอง ๘ ธันวาคม ๒๕๕๘  สุกัญญา
    ๒๑๑ หนา้  ๒๕๐ บาท                 หาญตระกูล  หนึ่งในอดีตกองบรรณาธิการสตรีสาร  ยุคท้าย ๆ  จึงเรียบเรียงหนังสือ  ปัญญาแห่ง 
                                      ยุคสมัย  :  คุณนิลวรรณ  ปิ่นทอง  ขึ้น  ทั้งเพ่ือร่วมเฉลิมฉลองวัย  ๑๐๐  ปีของอาจารย์นิลวรรณ  และ
82 พฤศจิกายน ๒๕๕๙                     ส�ำรวจมรดกที่สตรสี าร มอบไว้แก่สังคมไทย

                                            นางสาวนิลวรรณ  ปิ่นทอง  เริ่มต้นชีวิตการท�ำงานหลังจบอักษรศาสตรบัณฑิต  จุฬาลงกรณ์
                                      มหาวิทยาลัย  ด้วยการเป็นครูโรงเรียนราษฎร์ระยะหนึ่ง  ก่อนเข้ารับราชการกรมโฆษณาการยุค
                                      สงครามโลกครงั้ ท ี่ ๒ อยรู่ าว ๑๐ ป ี  กระทง่ั ตน้ ทศวรรษ ๒๔๙๐ เมอื่ มเี พอ่ื นมาปรกึ ษาวา่ ตอ้ งการท�ำ
                                      นิตยสารสำ� หรับสตรีชื่อสตรีสาร ด้วยความท่ีคุ้นเคยกับสื่อต่างประเทศจากงานท่ีแผนกหนังสือพิมพ์
                                      กองการตา่ งประเทศ และดว้ ยความคดิ ทวี่ า่ ในทอ้ งตลาดยงั ไมม่ นี ติ ยสารสำ� หรบั สตรจี รงิ  ๆ เลย ทา่ น
                                      ตัดสินใจลาออกจากราชการเข้าสู่สังเวียนธุรกิจส่ิงพิมพ์เต็มตัวทั้งที่ไม่เคยมีประสบการณ์ด้านน้ีเลย
                                      โดยรบั หนา้ ทค่ี วบถงึ สามตำ� แหนง่  ทง้ั บรรณาธกิ าร ผพู้ มิ พผ์ โู้ ฆษณา และกรรมการจดั การของบรษิ ทั
                                      การพิมพส์ ตรสี าร จ�ำกัด

                                            บทบาทการยืนหยัดท�ำหน้าที่ส่ือเพ่ือสตรีและเยาวชนอย่างโดดเด่น  ท�ำให้นางสาวนิลวรรณ
                                      ปิ่นทอง  ได้รับรางวัลรามอน  แมกไซไซ  อันเปรียบเสมือนรางวัลโนเบลของทวีปเอเชียเมื่อปี  ๒๕๐๔ 
                                      นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับเกียรตินี้    ต่อมาในปี  ๒๕๐๕  ท่านได้รับพระราชทานเครื่องราช-
                                      อสิ รยิ าภรณจ์ ตตุ ถจลุ จอมเกลา้  จงึ มสี ทิ ธใิ์ ชค้ ำ� นำ� หนา้ นามวา่  “คณุ ” (หากเปน็ หญงิ มสี ามจี ะใชค้ ำ� นำ�
                                      หน้าวา่  “คุณหญงิ ”) นบั แต่น้นั มา

                                            สตรีสารถือเป็นเวทีส�ำคัญทั้งในแง่วิชาการและวรรณกรรมร่วมสมัย  งานค้นคว้าภาษาถิ่น
                                      ตระกลู ไทของ ดร. บรรจบ พนั ธเุ มธา กเ็ รม่ิ เผยแพรท่ น่ี  ่ี  นกั เขยี นผมู้ ชี อื่ เสยี ง อาท ิ กฤษณา อโศกสนิ
                                      “โบต๋ัน”    โสภาค  สุวรรณ    วาณิช  จรุงกิจอนันต์    ประภัสสร  เสวิกุล  ฯลฯ  ต่างก็มีผลงานนวนิยาย
                                      ตพี มิ พต์ อ่ เนอ่ื งมาโดยตลอด  นอกจากนนั้ สตรสี ารภาคพเิ ศษ สำ� หรบั ผเู้ ยาว ์ ทเ่ี ยบ็ รวมไวต้ รงกลางเลม่
                                      กย็ ง่ิ สง่ เสรมิ สถานะนติ ยสารของครอบครวั ใหโ้ ดดเดน่  และสรา้ งนกั อา่ นรนุ่ ใหมข่ น้ึ มากมายนบั ไมถ่ ว้ น

                                            ปัญญาแห่งยุคสมัย  :  คุณนิลวรรณ  ปิ่นทอง  เล่าประวัติชีวิตของ  “อาจารย์นิลวรรณ”  โดย
                                      พยายามรอ้ ยเรยี งกลบั เขา้ ไปในบรบิ ทประวตั ศิ าสตร ์  รายละเอยี ดมากมาย เชน่  การแบง่ สว่ นราชการ
                                      เหตุการณ์ทางการเมือง  หรือแม้แต่พัฒนาการของเทคโนโลยีการพิมพ์  อาจท�ำให้เรื่องดูเย่ินเย้อ
                                      ไปบ้าง  แต่ท้ังหมดก็คงเป็นไปเพ่ือให้เห็นการสร้าง  “ตัวตน”  คนท�ำงานนิตยสาร  ซ่ึง  “เป็นการค้าที่
                                      คขู่ นานกบั อดุ มคติ”

                                            ตลอดระยะเวลาเกอื บครงึ่ ศตวรรษ การบรรณาธกิ ารกจิ ของคณุ นลิ วรรณไดร้ บั การยอมรบั วา่
                                      มมี าตรฐานสงู  ทง้ั การใชถ้ อ้ ยคำ�  การพสิ จู นอ์ กั ษร ตลอดจนการเลอื กเรอ่ื งทจ่ี ะนำ� ลงตพี มิ พ ์ ดงั ทที่ า่ น
                                      เคยอธิบายไว้ว่า “...การท�ำหนังสือเป็นงานหนัก ต้องเอาใจใส่ตลอดเวลา นับแต่ตัวสะกดการันต์ไป
                                      จนถึงเร่ืองราวข้อมูลและข้อความที่ถูกต้อง  เป็นท่ีเชื่อถือได้  และปรับปรุงเนื้อหาสาระให้เหมาะกับ
                                      กาลเวลาอยู่เสมอ  เปา้ หมายคอื ท�ำเพ่ือผูอ้ ่าน...”

                                            ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๙ จะเปน็ วาระวนั เกดิ  ๑๐๑ ปขี องคณุ นลิ วรรณ  จากแหลง่ ขา่ วทส่ี อบถาม
                                      มาได้เล่าว่าท่านมีสุขภาพแข็งแรงตามสมควรส�ำหรับผู้ใหญ่ที่อายุขนาดนี้    ในฐานะคนท�ำงาน
                                      นิตยสารและคนรุ่นที่เติบโตมากับสตรีสารภาคพิเศษ ขอถือโอกาสกราบ “คุณย่า บก.” ในวันคล้าย
                                      วนั เกดิ  มา ณ ท่ีน้ีดว้ ยคนครับ  
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89