Page 63 - SKD-V0402.indd
P. 63
มีสายคราฟต์อีกรายที่แสดงความแอดวานซ์ แต่ยังคง สารพันแค็กตัสและไม้อวบน�้าที่เป็นสมบัติส่วนตัวได้รับ
ใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ การทะนุถนอมในโรงเรือนกระจกติดหน้าต่างบานกระทุ้งให้
“เราเริ่มท�ากระถางเพราะตัวเองชอบปลูกต้นไม้ และ เหมาะกับอากาศเมืองไทย กระถางที่จะน�ามาปลูกต้นไม้
ความเป็นคนช่างเลือกก็ท�าให้ไม่ชอบกระถางพลาสติกเพราะ แสนรักจึงต้องดีต้องเด็ดด้วย
รู้ว่าวัสดุที่เหมาะแก่การปลูกต้นไม้ที่สุดคือดินเผา ซึ่งที่ผ่าน “เราชอบใช้กระถางรากุ (raku) ที่ท�าเองทุกขั้นตอน
มาก็เจอแต่กระถางไม่สวยตรงใจจึงเริ่มหันมาปั้นเองเพื่อให้ ตั้งแต่ปั้น เคลือบ และเผาชิ้นงาน ตอนเรียนปริญญาตรี
ได้กระถางที่มีรูปทรงลวดลายตามต้องการ” เคยมีอาจารย์พิเศษมาสอนท�าครั้งหนึ่ง พอสนใจจึงซื้อ
ที่ไม่เกินก�าลังเพราะ อัจฉรา ตั้งศิริพงศ์เมธ เรียน เตาเล็กมาลองผิดลองถูก ศึกษาข้อมูลเพิ่ม ใช้เวลาเป็น
จบปริญญาตรีหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบ ปีกว่าจะช�านาญจนมั่นใจ ความเป็นรากุเริ่มตั้งแต่เนื้อดิน
เซรามิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร- ที่ต่างจากดินปั้นเซรามิกทั่วไป เนื้อดินต้องหนามากทนการ
เหนือ ต่อด้วยหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขา เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี เนื่องจากการปั้นแบบทั่วไปจะ
วิชาทัศนศิลป์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร- รอให้เซรามิกเย็นตัวในเตาจึงน�างานออกมา แต่รากุจะใช้
ลาดกระบัง เทคนิคเฉพาะคือเมื่อเผาจนถึงจุดสุกตัวที่ประมาณ ๑,๐๕๐
เธอยังเติบโตมาบนผืนดินย่านพระราม ๒ ซึ่งเป็น องศาเซลเซียส จะต้องคีบออกจากเตาถ่านสีแดง ๆ วางบน
อดีตสวนส้มของคุณยายที่ปัจจุบันยังจัดสรรส่วนอยู่อาศัย ถาดที่ทนไฟทันที บนถาดนั้นจะรองด้วยวัสดุติดไฟง่ายอย่าง
ให้คงความเป็นบ้านสวน ปลูกไม้ใหญ่ร่มรื่น จึงบ่มเพาะ แกลบ ฟาง ใบไม้แห้ง หญ้าแห้ง หรือกระดาษ เพื่อให้เกิด
ความรัก-ผูกพันกับธรรมชาติมาแต่เด็ก เอฟเฟกต์ของขี้เถ้าที่ไหม้ไฟหลังเคลือบ”
61
สิงหาคม ๒๕๖๑