Page 64 - SKD-V0402.indd
P. 64
หัวใจของศิลปะรากุฉบับชาวญี่ปุ่นอยู่ที่การเล่นสนุกของ เธอเล่าถึงที่มาของชื่อว่าได้แรงบันดาลใจจากงานที่มี
มนุษย์กับธรรมชาติผ่านเทคนิคที่เพลินไปกับการเคลื่อนไหว จุดเริ่มต้นจาก “ดิน”
ตั้งแต่กระบวนการผสมดินและนวดดินเองที่ต้องบีบนวด แม้แต่สีสันบนกระถางก็อาศัยสีของดิน ซึ่งเป็นสิ่ง
ขว้างปาสร้างอารมณ์ แม้กว่าจะนวดดินเสร็จอาจเมื่อยจน “ดั้งเดิม” จากธรรมชาติ
ไม่อยากปั้นต่อก็ตาม เดี๋ยวนี้บางคนจึงเลือกผ่อนแรงโดย วันที่เรามาเยี่ยมเยือนสตูดิโอแถวพระราม ๒ เจ้าบ้าน
สั่งผลิตดินกับโรงงานแทนเพื่อกระชับเวลาให้นาทีแห่ง ต้อนรับโดยน�าชมโรงเรือนกระจก ภายในจัดวางต้นกระบอง-
การปั้นกระถางมาถึงเร็วขึ้น เพชรแสนหวงอย่างเป็นระเบียบ สะท้อนการเอาใจใส่ราย
อัจฉราต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ขึ้นอีกด้วยเทคนิค ละเอียด แต่ละต้นค่อนไปทางสายพันธุ์แปลกและมีมูลค่า
“ดินสองสี” เลี้ยงในกระถางเซรามิกขนาดเล็ก-กลางสารพัดสี ภายใต้
“เราเลือกใช้ดินพื้นบ้านของอ�าเภอปากเกร็ดในจังหวัด คอนเซปต์ทรงเท่คล้ายก้อนสมองซึ่งปั้นจากฝีมือตน นอกจาก
นนทบุรีซึ่งให้สีน�้าตาล มาผสมกับดินสโตนแวร์ส�าหรับใช้ ชมเรือนปลูกต้นไม้จึงคล้ายได้เสพงานอยู่ในหอศิลป์ด้วย
ปั้นเซรามิกโดยเฉพาะซึ่งเนื้อดินเป็นสีด�า แต่พอเผาแล้วจะ “บางคนไม่เชื่อมั่นในกระถางเซรามิกกลัวระบายน�้าไม่ดี
ให้สีขาว” ความจริงเป็นเรื่องของรูปแบบกระถางและการใช้งาน
เธอคิดว่าดินทุกชนิดทุกพื้นถิ่นน�ามาปั้นกระถางได้โดย มากกว่า กระถางปลูกต้นไม้ไม่ควรวางติดพื้นเพราะจะท�าให้
ให้สีและผิวสัมผัสต่างกัน แต่สิ่งควรระวังคือสมบัติของ น�้าขัง ควรมีรูที่ก้นและมีขาตั้งไว้”
ดินบางแห่งยังยากต่อการน�ามาใช้งาน ต้องผ่านกระบวนการ นอกจากช่วยระบายน�้าพืชยังได้ใช้เป็นทางลอดผ่านของ
ค่อนข้างเยอะกว่าจะเหมาะสม ที่ใช้ได้แน่นอนคือดินบ้าน รากที่ขยันหาอาหารเพื่อการเติบโต หรือถ้าไม่อยากให้ต้นไม้
ดอยดินแดงที่จังหวัดเชียงราย ดินจากอ�าเภอแม่ริมใน เล็ก ๆ ขยายขนาดเราก็ใช้รูที่ก้นกระถางนั่นละเป็นช่องทาง
62
เชียงใหม่ หรือดินต�าบลด่านเกวียนที่จังหวัดนครราชสีมา ตัดเล็มรากบางส่วนเพื่อลดขนาดลงได้ ขณะเดียวกันกระถาง
ซึ่งล้วนมีชื่อเสียงด้านแหล่งเครื่องปั้นดินเผาอยู่แล้ว เซรามิกยังมีการเคลือบผิวภายนอกกักเก็บความชื้นไว้ ต้นไม้
“หลังขึ้นรูปออกแบบลวดลายแล้วเราจะพักงานไว้จน จึงกระจายรากได้ดี ทั้งยังให้ความสวยงามส�าหรับวาง
ดินแห้งจึงน�าเข้าเตาเผารอบแรกที่อุณหภูมิ ๘๐๐ องศา ประดับตกแต่งสถานที่มากกว่ากระถางดินเผาทั่วไป
เซลเซียส ดินจะออกสีส้ม แล้วน�าไปเคลือบด้วยสีสูตรลับ “ถึงโรงเรือนจะช่วยปกป้องต้นไม้เล็ก ๆ จากนก หมาที่
ที่เราคิดเอง ก่อนเผาอีกครั้งด้วยเทคนิครากุที่อุณหภูมิ เลี้ยงไว้ หรือแมวข้างบ้านไม่ให้เข้ามาท�าลายได้ แต่พอเรา
๑,๒๐๐ องศาเซลเซียสให้เป็นเซรามิก ครั้งนี้ดินจะออกสี เผลอก็ยังมีกระรอกที่อาศัยอยู่ในสวนมาอุ้มกระถางเล็ก ๆ ที่
น�้าตาลเข้ม สีบนกระถางที่ได้เกิดจากสีของดินที่ต่างก็มี เราเพาะต้นกล้าจิ๋วไว้วิ่งหนีไปเลย”
เอกลักษณ์ในแบบตน ไม่ใช่เกิดจากการเคลือบ หลังเผา ถ้าสะกดรอยตามไปถึงรัง อาจพบนักสะสมไม้กระถาง
เสร็จยังต้องน�ากระถางมาขัดคราบเขม่าควันออกก่อนจึงเพิ่ม จิ๋วก�าลังแต่งบ้านตัวเองเช่นกัน
เอฟเฟกต์อื่นได้ การเผาแต่ละครั้งจุกระถางได้ไม่เกิน ๓๐ ใบ บ่ายวันนี้มีกิจกรรมปั้นกระถางภายในห้องเรียนปรับ
ในจ�านวนนั้นเมื่อท�าเสร็จยังต้องลุ้นอีกว่าจะแตกหรือบิ่น อากาศซึ่งออกแบบคล้ายโรงเรือนติดผนัง ระหว่างปั้นงาน
เสียหายกี่ใบ ท�าให้แต่ละครั้งได้จ�านวนชิ้นงานไม่มาก” ศิลปะจึงพลอยได้ชมนกชมไม้เสริมจินตนาการผ่านห้อง
นอกเหนือเรื่องต้นทุนวัตถุดิบ ราคาของกระถางรากุ กระจก
จึงมาจากพลังกายใจที่ซับซ้อนเป็นพิเศษ “สังคมของคนรักกระถางกว้างใหญ่มาก โดยเฉพาะ
เมื่อน�าไปปลูกต้นไม้วางในต�าแหน่งที่กระทบแสงไฟ กระถางเซรามิก มีทั้งคนท�า คนขาย คนซื้อ ซึ่งคนเลี้ยงต้นไม้
กระถางที่ผ่านกระบวนการเคลือบอย่างใส่ใจจะเปล่งประกาย ส่วนใหญ่ก็สะสมกระถางควบคู่และหันมาท�าใช้เองมากขึ้น
สวยแพงโดยไม่ต้องอวดสรรพคุณเลย คนที่มาเรียนเป็นกลุ่มวัยกลางคนจนสูงอายุทั้งคนเมืองและ
“ทุกครั้งที่ท�าเสร็จเราจะถ่ายรูปลงเฟซบุ๊ก มีคนเข้ามา ต่างจังหวัด บางคนมาไกลจากล�าปาง หาดใหญ่ ระนอง
ถามตลอดว่ามีขายไหม เปิดสอนไหม ในที่สุดจึงขอพ่อแม่ และมีอาชีพหลากหลายตั้งแต่คนขายบอนไซไปจนอธิการบดี
สร้างออฟฟิศที่บ้านให้เป็นทั้งที่เวิร์กช็อปและโชว์รูมผลงาน” หรือคุณหมอซึ่งเป็นกลุ่มที่ชอบเลี้ยงบอนไซ แค็กตัส นิยม
ธุรกิจกระถางเซรามิกภายใต้ชื่อ “ดินเดิม” จึงเกิดควบคู่ งานคราฟต์ และต้องการมารีแลกซ์ นอกจากได้กระถางที่
สตูดิโอเวิร์กช็อป พอดีกับขนาดต้นไม้ตัวเองยังได้ดีไซน์รูปทรงให้มีเอกลักษณ์