สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๗ เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๕
สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๗ เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๕ "๑๐ ปี พฤษภาคม ๒๕๓๕ สังคมไทยได้อะไร ?"
  นิตยสารสารคดี Feature Magazine ISSN 0857-1538  
  ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๗ เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๕  
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
คนรักหมา VS คนกินหมา
โลกใบเล็ก
คลิกอ่านต่อ
ผู้ดีอังกฤษกับภาษาที่ ๒
อ่านเอาเรื่อง
๒๒ ปีแก่งเสือเต้น กับคำถามเดิม : จะเอาเขื่อนหรือเอาป่า ?
ประเพณี-วัฒนธรรม
ประเพณีวันชุมนุมกะเหรี่ยง ที่วัดแจ้งเจริญ
เกร็ดข่าว
คลิกดูภาพใหญ่
รวมมิตรเบเกอรี่ โอกาสทางสังคม ที่มาพร้อมกับขนมปังอร่อย
สะกิดตา-สะกิดใจ
พิพิธภัณฑ์
คลิกดูภาพใหญ่
พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ แหล่งศึกษา ประวัติศาสตร์คุกไทย
วิชาการ
เด็กเก่งไม่เลือกเรียน คณิตศาสตร์ หวั่นงานวิจัยไม่เกิด ประเทศชาติไม่พัฒนา
บุคคลในข่าว
อาลัย รศ. โอภาส ขอบเขตต์
เกร็ดข่าว
คลิกดูภาพใหญ่
๑ : ๑๕ ถอดหัวใจ ใส่เรือจำลอง
คนไทยค้นพบ
คลิกดูภาพใหญ่
อึ่งกรายหมอสมิท
ที่นี่มีอะไร
หนังสือบนแผง
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
ส่องจักรวาล
สำรวจ "แมงป่อง"
โลกวิทยาการ
คลิกดูภาพใหญ่
ชีวิตพิสดารของมด
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๔๐)
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
aurora borealis (แสงเหนือ)
aurora australis (แสงใต้)
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกผีเสื้อราตรี
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
ย่านเก่าสงขลา
ข้างครัว
ไม่เมาไม่ต้องกิน
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
บันทึกนักเดินทาง
คลิกดูภาพใหญ่
เสือคือ
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
คลิกดูภาพใหญ่
ช่างแกะสลักขี้อาย กับลวดลายอีโรติก
บทความพิเศษ
ฟุตบอล : มุมมองเรื่อง การสร้างความหมาย ชนชั้น สังคม และปมทางจิต
ศิลปะ
  คลิกอ่านต่อ
ความทรงจำแห่งสยาม ของ กาลิเลโอ คินี
สยามร่วมสมัย
ถนนรองเมือง
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
ข่าวธุรกิจ-ผลิตภัณฑ์
เฮโลสาระพา
๒๒ ปีแก่งเสือเต้นกับคำถามเดิม : จะเอาเขื่อนหรือเอาป่า ?
เรื่องจากปก
๑๐ ปีพฤษภาคม ๒๕๓๕ ๑๐ ปีพฤษภาคม ๒๕๓๕
       ผู้ชุมนุมประท้วงในเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม ๒๕๓๕ ราว ๒,๐๐๐ คน ถูกจับมารวมกันที่หน้าโรงแรมรัตนโกสินทร์ ผู้ชายถูกถอดเสื้อมัดมือไพล่หลังในสภาพเชลยสงคราม ส่วนผู้หญิงถูกกันไว้อีกทาง
       นายตำรวจระดับสูงผู้หนึ่งที่เข้าไปสังเกตการณ์ วิจารณ์การจับกุมครั้งนี้ว่า 
       "ผมถามว่าไปผูกทำไม บังคับให้เขาถอดเสื้อแล้วเอามือไพล่หลัง ทำอย่างกับพวกเวียดกง นี่คนไทยแท้ ๆ ทำอย่างนี้มันไม่ถูก"
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) น้ำมันทดแทนจากพืช
ความยั่งยืนแห่งพลังงาน


       ในแต่ละปีประเทศไทยสูญเสียเงินตราเพื่อซื้อพลังงานในรูปต่าง ๆ ถึง ๘๐๐,๐๐๐ ล้านบาท เฉพาะน้ำมันสำเร็จรูปเฉลี่ยสูงถึงประมาณ ๖.๑๖ แสนบาร์เรลล์ต่อวัน จากอัตราการใช้ดังกล่าวทำให้ในปี ๒๕๔๒ ประเทศไทยสูญเสียเงินตราต่างประเทศ ในการนี้กว่า ๑๓๐,๖๕๖ ล้านบาท และในศตวรรษที่ผ่านมา เราพึ่งพาน้ำมันต่างชาติถึง ๙๐% จนถึงวันนี้การก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด ปัญหาดังกล่าวนำมาสู่การการตื่นตัว และหันมาแสวงหาเชื้อเพลิง และพลังงานทดแทนจากทรัพยากรภายในประเทศ เพื่อทดแทนการนำเข้า
       ขณะนี้ประเทศไทยกำลังเดินหน้าโครงการผลิตเอทานอล เป็นเชื้อเพลิงทดแทนน้ำมันเบนซิน และสาร MTBE โดยชูมันสัมปะหลังเป็นวัตถุดิบหลัก มี อ้อย กากน้ำตาล คอยหนุนเสริม โครงการเอทานอลเป็นรูปเป็นร่าง และปักหลักมั่นคงขึ้นแล้ว โดยคณะกรรมการเอทานอลแห่งชาติ เป็นแรงผลักดันที่สำคัญมีองค์กรรัฐและเอกชนอื่น ๆ ร่วมด้วย
       ส่วนน้ำมันดีเซลนั้น ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว ถูกจับตาในฐานนะเป็นวัตถุดิบหลัก ในการผลิตน้ำมัน เพื่อนำไปใช้ทดแทนน้ำมันดีเซลจากปิโตเลียม  โดยมีน้ำมันพืชจากผลิตผลการเกษตรชนิดอื่น ๆ , น้ำมันพืชที่ใช้แล้ว และน้ำมันจากไขมันสัตว์ร่วมขบวนด้วย
       เมื่อบรรดาน้ำมันทดแทนถูกปลุกขึ้นมาพร้อม ๆ กันในสถานการณ์บ้านเมืองที่ "มุ่งเน้นการพัฒนาที่พึ่งตัวเองได้อย่างยั่งยืน" เช่นนี้ หลายคนเชื่อว่าจะไม่เป็นเหมือนไฟไหม้ฟางเหมือนก่อนมา

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) ๑๐ ปี พฤษภาคม ๒๕๓๕

       ถึงแม้ว่า พระราชกำหนดนิรโทษกรรมนิรโทษกรรม แก่ผู้กระทำความผิดเนื่องในการชุมนุมกันระหว่างวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๕ จะมีผลทางกฎหมาย ทำให้ผู้กระทำความผิดที่เกิดในเหตุการณ์ดังกล่าวไม่ต้องรับโทษแล้ว ยังมีผลให้กระบวนการสอบสวนหาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเมื่อ ๑๐ ปีที่แล้ว(โดยเฉพาะจากฝ่ายรัฐ) ต้องสิ้นสุดไปด้วย 
       แต่เหตุการณ์ในครั้งนั้นยังคงมีปริศนาให้ค้นหาอีกเป็นจำนวนมาก หลายคำถามยังคงเป็นบาดแผลสำหรับผู้เสียหายโดยตรงมาจนถึงปัจจุบัน
       สารคดี ขอนำเสนอปริศนาห้าประการที่ยังไม่ได้รับการคลี่คลายจนถึงปัจจุบัน ด้วยความหวังว่าถ้าหากใครมีข้อมูลมาเติมเต็มส่วนที่ขาดหายไป จะสามารถคลี่คลายปริศนาที่ค้างคามาเป็นเวลา ๑๐ ปีได้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 17 No. 207 May 2002 Cover: Shirtless and with their hands tied behind their backs, the thousands of protestors pictured here were forcibly gathered in front of the Royal Rattanakosin Hotel during the May 1992 incident. It was a disturbing approximation of a capture of prisoners of war. But even more disconcerting was the fact that these "prisoners" were in their own homeland, fighting for democracy.
Vol. 17 No. 207 May  2002
(Bigger) Remembering the May Tragedy

       As a consequence of Thailand's inextricable connection to the global economy, the stock market plummeted to 57 points immediately after the military staged a coup to overthrow Chatchai's corrupt government on February 23rd, 1991. Foreign investment in Thailand, which had previously amounted to approximately 561 billion baht in the six-month period prior to the coup (February - October 1990), fell to a mere 192 billion baht in the same six-month period following the coup. Unfavorable economic conditions, and fleeing foreign investment helped to prompt the need and underline the urgency for political stability, which the military was only too happy to provide... 

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) Alternate and Durable Sources of Energy

       Global oil consumption has increased exponentially since the world's first oil well was drilled in Pennsylvania, U.S.A. in 1861. In the year 1930, global oil consumption stood at 17 billion barrels; by 1997, it had increased to 807 billion barrels. With the world averaging a yearly 2% increase in global oil consumption, geologists once suspected that the world's limited energy reserves would soon be depleted if exploration discontinued, and created the panic that we would "run out" of oil. But it wasn't really that the world's oil was going to vanish any time soon, but that oil that was immediately drillable from our reserves - at the right price - was limited. It was a question of oil prices.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger)   Galileo Chini's Memory of Siam

       Impressed by the artist's entry at the La Biennale di Venezia art exhibition in Venice, King Rama Vth invited Galileo Chini (1873 - 1956) to Siam in 1911 to record the King's various activities in vivid paintings on the ceiling of the Anantasamakhom Palace. His beautiful creations became forever a part of Siam's national heritage, as Chinni himself was profoundly touched by his experience in this exotic land. Chinni completed his work in 1913, and upon returning to Italy in 1914 displayed a personal entry at the La Biennale di Venezia, lovingly entitled "Nostalgia di Bangkok." At age 76, Chini parted with his collectibles from Siam and donated them to the National Art Museum, entitling their exhibit a "Ricordo del Siam" - aptly referring to his Memory of Siam.


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
หมูอมตะ ไม้ขีดไฟลับสมอง

"หมูอมตะ"