Page 130 - Skd 298-2552-12
P. 130
วัยเยาว์กบั ฉายา Wrangler สามารถแกวง่ ไปมาได ้ กาลเิ ลโอคน้ พบกฎนจ้ี ากการสงั เกต
เห็นว่า เวลาพนักงานในโบสถ์ต้องการจุดตะเกียงที่แขวน
กาลิเลโอมีบิดาช่ือ Vincenzo Galilei มีอาชีพเป็น ห้อยด้วยโซ่ยาวจากเพดานสูงของมหาวิหารแห่งปิซา เขา
นกั ดนตรผี เู้ ชยี่ วชาญทงั้ ทฤษฎแี ละการเลน่ พณิ นำ้� เตา้ มารดา จะใช้ตะขอเกี่ยวตะเกียงเข้าหาตัวเพ่ือจุดไฟ แล้วปล่อยให้
มีช่ือเดิมว่า Giula Ammannati มาจากครอบครัวฐานะ ตะเกยี งแกวง่ ไปมา และกาลเิ ลโอกไ็ ดพ้ บความจรงิ วา่ ไมว่ า่
ปานกลางแห่งเมืองฟลอเรนซ์ กาลิเลโอเป็นบุตรคนหัวป ี ตะเกียงดวงน้ันจะถูกดึงไปจากต�ำแหน่งต่�ำสุดเป็นระยะทาง
ในบรรดาพ่ีน้อง ๗ คน ซ่งึ ต่อมานอ้ งทั้งสี่ไดเ้ สียชวี ติ ลง ใกล้หรือไกลเพียงใด เวลาที่ตะเกียงใช้ในการแกว่งจนครบ
๑ รอบจะเท่ากันเสมอ ถึงในสมัยน้ันจะไม่มีนาฬิกาจับเวลา
เมื่ออายุ ๘ ขวบ บิดาอพยพครอบครัวไปอยู่ที่เมือง ทดี่ กี ต็ าม (เพราะมแี ตน่ าฬกิ าทราย นาฬกิ าแดด และนาฬกิ า
ฟลอเรนซ ์ ความทฟ่ี ลอเรนซใ์ นบางเวลาเกดิ กาฬโรคระบาด น�้ำที่ไม่สะดวกต่อการใช้จับเวลา) กาลิเลโอจึงคิดใช้ชีพจร
บดิ าจงึ ไดฝ้ ากฝงั กาลเิ ลโอไวก้ บั เพอ่ื นชอ่ื Jacopo Borghini ของคนปรกติซึ่งเต้นเป็นจังหวะอย่างสม�่ำเสมอจับเวลา
เพ่ือจะได้เรียนหนังสือที่โบสถ์ Camaldolese ในเมือง ต่างนาฬิกา โดยใช้ปลายนิ้วสัมผัสชีพจรที่ข้อมือแล้วนับ
Vallombrosa หา่ งจากฟลอเรนซไ์ ปประมาณ ๓๕ กโิ ลเมตร จงั หวะการเตน้ ของชพี จร จากนน้ั กาลเิ ลโอกไ็ ดศ้ กึ ษาเรอื่ งน ้ี
ทน่ี น่ั กาลเิ ลโอไดเ้ รยี นภาษาละตนิ กบั หลวงพอ่ Paulus เรยี น เพมิ่ เตมิ และไดพ้ บวา่ เวลาทเ่ี พนดลู มั ใชใ้ นการแกวง่ ครบรอบ
คณิตศาสตร์กับ Ostilio Ricci อ่านหนังสือ Physica ขึ้นกับความยาวของโซ่ที่ใช้แขวน นั่นคือ ถ้าโซ่ยาว เวลา
ที่อริสโตเติลเรียบเรียง รวมถึงได้เรียนวิชาจิตรกรรมจนมี แกว่งครบรอบก็ยิ่งนาน และถ้าโซ่ส้ัน เวลาในการแกว่ง
ความสามารถสเกตชภ์ าพไดด้ ี ซงึ่ ในเวลาตอ่ มากาลเิ ลโอกไ็ ด้ ครบรอบก็สั้น ในกรณีที่ตุ้มนำ้� หนักมีน้�ำหนักไม่เท่ากัน ถ้า
ใช้ความสามารถนี้ในการวาดภาพดวงจันทร์และดาวต่าง ๆ โซ่ท่ีใช้แขวนมีความยาวเท่ากัน เวลาในการแกว่งครบรอบ
ที่ตนเหน็ ผา่ นกล้องโทรทรรศน์ กไ็ มแ่ ตกตา่ งกนั นนั่ หมายความวา่ เวลาในการแกวง่ ครบรอบ
ของตุ้มน�้ำหนักไม่ข้ึนกับน้�ำหนักของตุ้มเลย กาลิเลโอรู้สึก
ครอบครัวของกาลิเลโอมีฐานะไม่สู้ดีนัก บิดามีหนี้สิน ประหลาดใจในการพบความจริงประเด็นหลังนี้มาก เพราะ
มาก จึงมีความปรารถนาอยา่ งแรงกล้าทจี่ ะให้ลกู ชายคนโต ตามท่ีอริสโตเติลสอน วัตถุท่ีหนักจะตกถึงพ้ืนเร็วกว่าวัตถ ุ
เรยี นแพทยเ์ พอื่ จะไดเ้ ปน็ ทพ่ี ง่ึ ของทกุ คนในครอบครวั ดว้ ย ทเ่ี บา ถา้ คำ� สอนของอรสิ โตเตลิ ถกู ตอ้ ง ตมุ้ ทม่ี นี ำ�้ หนกั มาก
เหตนุ กี้ าลเิ ลโอในวยั ๑๗ ปจี งึ ไดเ้ ขา้ เรยี นแพทยท์ มี่ หาวทิ ยาลยั ก็ควรแกว่งเร็วกว่าตุ้มท่ีมีน้�ำหนักน้อย แต่การทดลองแกว่ง
ปิซา (Università di Pisa) ซ่ึงมีช่ือเสียงในการสอน หาได้แสดงผลเช่นที่ว่านี้ไม่ กาลิเลโอจึงเร่ิมเห็นว่าความรู้
วิชาศาสนา แต่ย่ิงเรียนเขาก็ย่ิงรู้สึกเบ่ือ เม่ือได้พบว่า ต่าง ๆ ท่ีอริสโตเติลเขียนไว้ในหนังสือ Physica อาจ
แพทยศาสตร์เป็นวิชาที่ผู้เรียนต้องท่องจ�ำมาก ขณะที่วิชา ไมถ่ กู ต้องท้ังหมด
วิทยาศาสตร์ของอริสโตเติลนั้นก็ไม่สนุก เพราะครูผู้สอน
พรำ่� บอกนกั เรยี นวา่ ตอ้ งเชอ่ื ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งทอ่ี รสิ โตเตลิ เขยี น จากน้ันกาลิเลโอก็คิดจะใช้ประโยชน์จากความรู้ท่ ี
เสมือนความนึกคิดของอริสโตเติลคือค�ำบัญชาของพระเจ้า พบใหม่น้ี โดยได้วิเคราะห์ว่าในร่างกายคนปรกติ ชีพจรจะ
และเม่ือกาลิเลโอตระหนักว่าค�ำสอนเหล่าน้ีบางอย่างมิได้มี เต้นจังหวะหนึ่ง แต่ในคนป่วย ชีพจรจะเต้นอีกจังหวะหน่ึง
หลักฐานใดสนับสนุน เขาจึงตั้งประเด็นสงสัยในความรู้ ซึ่งอาจช้าหรือเร็วกว่าปรกติ ดังนั้นถ้าแพทย์มีเพนดูลัมท่ี
ท่ีครูน�ำมาสอนบ่อยจนได้รับฉายาว่าเป็น Wrangler (นิสิต แกว่งตามจังหวะชีพจรของคนปรกติ แพทย์ก็สามารถใช้
ผู้ชอบถกเถียงเชิงวิชาการ) ขณะเดียวกันกาลิเลโอรู้สึก อุปกรณ์นี้วัดชีพจรของคนที่ไม่สบายได้ ซึ่งจะให้ข้อมูลท่ี
สนกุ สนานในการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรข์ องยคุ ลดิ (Euclid) แตกตา่ งไป กาลเิ ลโอเรยี กอปุ กรณท์ เี่ ขาสรา้ งนว้ี า่ Pulsilogia
เพราะเห็นได้ชัดว่าเรขาคณิตเป็นวิชาท่ีมีหลักการและใช้ และรู้สึกต่ืนเต้นกับการพบความรู้ใหม่ ๆ รวมถึงรู้สึกปีติ
เหตุผลในการอธบิ ายและพิสจู น ์ ไม่ต้องอาศัยความจำ� มาก ท่ีความรู้นั้นสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ด้วย จนในที่สุด
กาลิเลโอก็ตัดสินใจไม่เรียนแพทย์ หันไปเรียนวิทยาศาสตร์
เมอื่ อาย ุ ๑๘ ป ี กาลเิ ลโอไดพ้ บกฎการแกวง่ ของลกู ตมุ้ แทน ทงั้ ๆ ทถี่ กู บดิ าคดั คา้ นดว้ ยหวงั จะใหบ้ ตุ รชายเปน็ แพทย์
(pendulum) ซง่ึ เปน็ ระบบทม่ี ตี มุ้ น้�ำหนกั ผกู ตดิ ทป่ี ลายเชอื ก
ขา้ งหนงึ่ สว่ นปลายเชอื กอกี ขา้ งถกู ตรงึ แนน่ ดงั นนั้ ลกู ตมุ้ จงึ
138 นติ ยสารสารคดี ฉบบั ที่ ๒๙๘ ธนั วาคม ๒๕๕๒