Page 134 - Skd 298-2552-12
P. 134

เธอคอื คนทคี่ อยพยาบาลบดิ าในยามชรา โดยการใหก้ ำ� ลงั ใจ                 ด(Gวงaจliันleทaรn์ข mองoกoาnลsิเ)ลโอ 
และเขยี นจดหมายตดิ ตอ่ ตลอดเวลาทกี่ าลเิ ลโอถกู กกั บรเิ วณ
ในช่วงบน้ั ปลายของชีวติ                                                     ในป ี ๑๖๐๘ กาลเิ ลโอเรม่ิ สนใจดาราศาสตรเ์ มอ่ื ไดอ้ า่ น
                                                                         หนังสือ De Revolutionibus Orbium Coelestium 
   อนง่ึ  ขณะใชช้ วี ติ อาจารยท์ มี่ หาวทิ ยาลยั ปาดวั  กาลเิ ลโอ        (On the Revolutions of the Heavenly Spheres) ของ 
ได้รับงานออกแบบอุปกรณ์เพ่ือนำ� ออกขายหลายอย่าง เช่น                      โคเปอร์นิคัส ซึ่งถูกห้ามเผยแพร่ ห้ามอ่าน ห้ามเล่า ห้าม 
เข็มทิศส�ำหรับทหารปืนใหญ่ใช้ในการยิงกระสุนให้ถูกเป้า
อยา่ งแมน่ ยำ�  รวมถงึ การออกแบบหว ี เขม็ ขดั  ปากกาลกู ลนื่             หนงั สอื De Revolutionibus Orbium Coelestium
เทอร์โมมิเตอร์อากาศ (ที่ใช้คุณสมบัติการขยายตัวของ                        ขแลอะงกโคาเลปิเลอโรอน์ มคิ ีไัสวทใ้ นถ่ี คูกรหอ้าบมคเผรยอแงพร่
อากาศเปน็ เกณฑบ์ อกอณุ หภมู )ิ  และเครอ่ื งเกบ็ ผลมะเขอื เทศ             แต่ไดข้ ดี ฆา่ ประโยคสดุ ทา้ ยในตอนหนงึ่ ท่ีวา่
เป็นต้น  ในยามว่างก็จะวิเคราะห์ต�ำราวิทยาศาสตร์ของ                       ผ“โู้ทดรยงไอมิทม่ ธีขพิ อ้ ลสทงสสี่ ยัุด”นแีค่ ลอื ะผกลางลาเิ นลขโออยงงัพไรดะเ้ เปจล้า่ยี น
อาร์คิมีดีส (Archimedes) และอริสโตเติล แล้วเรียบเรียง                    หวั เร่อื งจาก “คำ�อธบิ ายเรอ่ื งการเคล่อื นทข่ี องโลก”
เป็นต�ำราชื่อ De motu (On Motion)  ในน้ันมีบทความ                        เขปอน็ งโ“ลสกมแมลตุ ะิฐคาำ�นอเธริบ่ือางยก”ารเคล่ือนท่ี
เกยี่ วกบั การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถ ุ ซงึ่ กาลเิ ลโอไดพ้ บความรใู้ หม่
เช่น ถ้าวัตถุไม่ถูกแรงใด ๆ กระท�ำเลย และวัตถุน้ันอยู่นิ่ง 
มนั กค็ งสภาพนงิ่ ตลอดไป แตถ่ า้ วตั ถนุ น้ั ก�ำลงั เคลอื่ นท ่ี มนั ก็
คงความเร็วน้ันต่อไปอย่างสมำ่� เสมอ และนี่ก็คือสมบัติด้าน
ความเฉื่อย (inertia) ที่นักเรียนปัจจุบันรู้จักดี  แต่ถ้า 
มีแรงมากระท�ำ ความเร็วของวัตถุนั้นก็จะเปล่ียน  ความรู้
ประเด็นนี้ได้ปูทางให้นิวตันใช้ในการสร้างกฎการเคลื่อนที่ 
ในเวลาตอ่ มา

   นอกจากนก้ี าลิเลโอกย็ ังพบอีกวา่  ในกรณวี ัตถุที่ไถลไป
ตามพืน้ เอยี งทที่ ำ� มมุ กับแนวระดับ ระยะทางทว่ี ตั ถุเคลื่อนที่
จะแปรโดยตรงกับเวลายกก�ำลังสอง ไม่ว่ามุมเอียงมีค่า
เท่าใด และเม่ือมุมเอียงเป็นมุมฉาก ระยะทางก็ยังแปร
โดยตรงกับเวลายกก�ำลังสองเหมือนเดิม  กาลิเลโอจึงสรุป
วา่  เวลาวตั ถุตกอย่างเสรี ระยะทางทว่ี ัตถุเคล่ือนที่กย็ ังแปร
โดยตรงกับเวลายกก�ำลังสอง  ส�ำหรับการเคลื่อนท่ีของ
กระสุนปืนใหญ่น้ัน กาลิเลโอก็ได้พบสิ่งท่ีขัดแย้งกับคำ� สอน
ของอริสโตเติลอีก เม่ือเขาได้แสดงว่ากระสุนมีวิถีโค้งแบบ
พาราโบลา (parabola)  ความรู้เหล่าน้ีท�ำให้กาลิเลโอเห็น
ความส�ำคัญของคณิตศาสตร์ในการศึกษาธรรมชาติมาก 
ว่าสามารถใช้สรุปความจริงออกมาเป็นกฎหรือเป็นสูตรที ่
ชว่ ยใหผ้ ทู้ ดลองสามารถท�ำนายอนาคตได ้ จนถงึ กบั กลา่ ววา่
คนที่ไม่มีความรู้คณิตศาสตร์จะไม่มีวันเข้าใจฟิสิกส์ได้ด ี
และพระเจา้ คอื นกั คณติ ศาสตร ์ เพราะไดส้ รา้ งเอกภพโดยใช ้
หลักการทางคณิตศาสตร์

142 นิตยสารสารคดี  ฉบบั ที่ ๒๙๘ ธนั วาคม ๒๕๕๒
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139