Page 132 - Skd 298-2552-12
P. 132
ต�ำแหน่งศาสตราจารย์คณิตศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยปิซา กรณีวัตถุตก ถ้าวัตถุหน่ึงหนักกว่าอีกวัตถุหนึ่ง ๑๐ เท่า
วา่ งลง Clavius จงึ ไดเ้ ขยี นคำ� รบั รองใหก้ าลเิ ลโอไปสมคั รงาน อรสิ โตเตลิ เชอื่ วา่ เมอ่ื วตั ถทุ งั้ สองตกพรอ้ มกนั จากทส่ี งู ระดบั
ทันที กาลิเลโอรู้สึกไม่สบายใจนักกับความคิดท่ีจะกลับไป เดียวกัน ขณะจะถึงพื้น วัตถุที่หนักจะมีความเร็วเป็น ๑๐
เปน็ อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ทตี่ นเคยเรยี น เพราะจ�ำไดด้ วี า่ เคย เท่าของวัตถุท่ีเบา ส่วนกรณีการยิงกระสุนปืนใหญ่ ต�ำรา
ถูกอาจารย์กล่าวหาว่าเป็นคนชอบเถียงครู แต่เมื่อทาง ของอริสโตเติลจะแสดงวิถีกระสุนท่ีเป็นเส้นตรงก่อน จน
มหาวิทยาลัยโบโลนญา (Università di Bologna) และ กระทั่งกระสุนพุ่งถึงจุดสูงสุดแล้วมันก็จะตกด่ิงลงสู่พื้นดิน
มหาวิทยาลัยปาดัว (Università degli Studi di Padova) วถิ กี ารเคลอื่ นทข่ี องกระสนุ จงึ มลี กั ษณะเปน็ เสน้ ตรงสองเสน้
ต่างตอบปฏิเสธไม่รับเขาเข้าท�ำงาน กาลิเลโอจึงจ�ำต้องไป ที่เอียงทำ� มุมกนั เป็นตน้
สมัครงานที่มหาวิทยาลัยปิซา และได้เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง
ศาสตราจารยค์ ณติ ศาสตรเ์ ปน็ เวลา ๓ ป ี ตง้ั แต ่ ค.ศ. ๑๕๘๙ “ความร”ู้ ดงั กลา่ วนก้ี าลเิ ลโอคดิ วา่ ไมเ่ คยมใี ครตรวจสอบ
-๑๕๙๒ โดยได้รับเงินปีละ ๖๐ ฟลอริน ซึ่งนับว่าน้อย แต่ ดงั นนั้ เขาจงึ ใหล้ กู ศษิ ยข์ นึ้ ไปทย่ี อดหอเอนแหง่ เมอื งปซิ า เพอ่ื
เป็นงานที่มีเกียรติ เม่ือได้งานท�ำ กาลิเลโอก็ให้สัญญากับ ปล่อยวัตถุท่ีมีน�้ำหนักต่างกันลงมาพร้อมกัน แล้วกาลิเลโอ
บดิ าวา่ จะหาสนิ สอดทองหมนั้ ให ้ Virginia ผเู้ ปน็ นอ้ งสาวได้ กไ็ ดพ้ บวา่ วตั ถทุ ง้ั สองตกถงึ พนื้ พรอ้ มกนั ทกุ ครง้ั ไป ดว้ ยเหตนุ ้ี
แต่งงานกับบุตรชายของทูตแห่งแคว้นทัสคานีซ่ึงมีต�ำแหน่ง กาลิเลโอจึงแถลงว่า เมื่อระยะทางเท่ากัน เวลาที่วัตถุใช้ใน
ประจ�ำท่โี รมใหไ้ ด้ทันเวลา การตกไม่ข้ึนกับน้�ำหนักของวัตถุ ดังน้ันการทดลองน้ีจึงให้
ผลทขี่ ดั แยง้ กบั คำ� สอนของอรสิ โตเตลิ และเพอ่ื ใหท้ กุ คนได้
ชีวิตการเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยปิซาของกาลิเลโอ ประจักษ์ในความจริงนี้ กาลิเลโอได้เชิญขุนนาง นักบวช
ไมร่ น่ื รมยน์ ัก เพราะบรรดาอาจารยท์ ่เี คยสอนเขายังจ�ำไดด้ ี และประชาชนมาเปน็ พยาน แตถ่ งึ ทกุ คนจะเหน็ จะ ๆ กบั ตา
ถึงค�ำถามยาก ๆ ท่ีเขาเคยถาม และอาจารย์เหล่าน้ันไม่ม ี ว่าวัตถุที่มีน้�ำหนักต่างกันตกถึงพ้ืนพร้อมกัน หลายคนก็ยัง
ค�ำตอบให้ นอกจากน้ีกาลิเลโอยังเห็นว่าเทคนิคการสอน ปฏิเสธส่ิงที่ตาเห็น โดยอ้างว่ากาลิเลโอเล่นมายากลให้ดู๑
ของอาจารย์สมัยน้ันไม่เหมาะสม คือพยายามท่องจ�ำข้อมูล จะอยา่ งไรกต็ าม ความส�ำคญั ของการทดลองนอ้ี ยทู่ ขี่ อ้ สรปุ
และเนื้อหามาบอกให้ผู้เรียนจดและจ�ำ ดังนั้นใครก็ตามท่ี ทวี่ า่ วตั ถทุ มี่ นี ำ้� หนกั ตา่ งกนั หากถกู ปลอ่ ยพรอ้ มกนั จากทสี่ งู
สามารถอ่านหนังสือกรีก ละติน รู้ภาษาอารบิก ท่องกลอน ระดับเดียวกัน จะตกถึงพ้ืนพร้อมกันเสมอไป นี่เป็นการ
และจำ� รายชอ่ื กลมุ่ ดาวไดห้ มด กถ็ อื วา่ เปน็ บณั ฑติ แลว้ ขณะ ลว่ งรรู้ ะดับเทพยดา ท้ัง ๆ ที่กาลิเลโอไม่มีนาฬิกาปรมาณ ู
ที่เวลากาลิเลโอสอน เขาจะให้ผู้เรียนออกมาแสดงความ ท่ีสามารถจับเวลาท่ีแตกต่างกันในระดับเสี้ยววินาทีได้ แต่ก็
คิดเห็นและให้เหตุผล เช่นเขาจะถามว่าระหว่างเพลโตกับ รู้ว่าถงึ พร้อมกนั
อริสโตเติล ใครเก่งกว่ากัน หรือโง่ท้ังสองคน ท้ังนี้เพราะ
กาลิเลโอรู้ว่าค�ำสอนของอริสโตเติลและเพลโตหลายเร่ือง ในการทดสอบเรอื่ งนเ้ี มอ่ื ป ี ๒๐๐๖ นกั ฟสิ กิ สไ์ ดท้ ดลอง
ไมม่ หี ลกั ฐาน และบางเรอื่ งมาจากจนิ ตนาการ คำ� สอนเหลา่ นน้ั ปล่อยอะตอมของธาตุรูบิเดียม (Rubidium) ท่ีมีมวล
จึงอาจเป็นความเชื่อท่ีงมงายและเหลวไหล เช่นเวลาวัตถุ ตา่ งกนั คอื ไอโซโทป Rb-85 กบั Rb-87 ลงในหลอดทดลอง
ตกในน้�ำและในอากาศ ทุกคนจะรู้ว่าวัตถุท่ีตกในอากาศ ท่ีภายในเป็นสุญญากาศ และก็ได้พบว่าอะตอมท้ังสองชนิด
มคี วามเรว็ สงู กวา่ เพราะอากาศมแี รงตา้ นนอ้ ยกวา่ น้�ำ ดงั นน้ั ถึงก้นหลอดพร้อมกัน โดยใช้เวลาที่แตกต่างกันไม่เกิน
อริสโตเติลจึงคิดว่าแรงต้านมีอิทธิพลต่อการเคล่ือนที่ของ ๐.๐๐๐๐๑ % ของเวลาทง้ั หมด นอกจากนเี้ วลาทใี่ ชใ้ นการ
วัตถุ เช่นถ้าแรงต้านมาก ความเร็วของวัตถุจะน้อย ด้วย ตกของอะตอมยังไม่ขึ้นกับสถานะควอนตัมของอะตอมท้ัง
เหตุนี้อริสโตเติลจึงสรุปว่า ถ้าตัวกลางไม่มีแรงต้านเลย สองดว้ ย การทดลองของกาลเิ ลโอเรอ่ื งนจ้ี งึ แสดงใหเ้ หน็ วา่
ความเรว็ ของวตั ถจุ ะมากถงึ อนนั ต ์ หรอื อกี นยั หนง่ึ ในการตก
ของวตั ถใุ นสญุ ญากาศ ความเรว็ ของวตั ถทุ ต่ี กจะเรว็ กวา่ แสง ๑ ส�ำหรับเร่ืองการทดลองปล่อยวัตถุหนักและเบาให้ตกจากยอด
แตอ่ รสิ โตเตลิ ไมเ่ คยเหน็ วตั ถใุ ดเคลอื่ นทเ่ี รว็ ขนาดนน้ั เขาจงึ หอเอนแหง่ เมอื งปซิ าน ้ี นกั ประวตั ศิ าสตรไ์ มม่ หี ลกั ฐานใด ๆ ทแี่ สดงวา่
แถลงเพ่ิมเติมว่าสุญญากาศไม่มีในธรรมชาติ และส�ำหรับ กาลิเลโอได้ด�ำเนินการจริง ดังน้ันการทดลองนี้จึงอาจเป็นเพียงการ
ทดลองในจินตนาการของกาลเิ ลโอเท่าน้นั
140 นิตยสารสารคดี ฉบบั ท่ี ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒