Page 104 - Skd 381-2559-11
P. 104
ส่วนหนึ่งของปลาที่ไม่อาจรอดชีวิต ในน้�ำมปี ลา ในนามขี ้าว
ลูกครอกหรือลูกปลาชะโดตัวแดงแจ๋ฝูงใหญ่
ว่ายน้�ำเล่นตามแม่ปลาชะโดระหว่างฝนตก “ในนำ้� มปี ลา ในนามขี า้ ว มนั เปน็ วาทกรรมในอดตี ไปแลว้ ”
อ�ำพล ฐาปนพันธ์นิติกุล เลขานุการมูลนิธิอนุรักษ์ป่า
ตะวันตก หัวหน้า “โครงการสนับสนุนงานป้องกันฤดูปลาวางไข่”
(Fishery Patrol Reinforcement Project) เอ่ยข้ึนขณะท่ีเราก�ำลัง
นั่งเรือเร็วตรวจการประมงน�้ำจืดเข่ือนเขาแหลมหมายเลข ๑๓ ออก
จากอำ� เภอทองผาภมู ิมงุ่ ส่อู ำ� เภอสงั ขละบรุ ี จงั หวัดกาญจนบุรี
แม้ตะวันจะลับขอบฟ้าไปแล้วแต่ก็ยังพอมีแสงให้มองเห็น
เรือชาวบ้านว่ิงไปบนเว้ิงน�้ำกว้างไกลสุดลูกหูลูกตา กลางผืนน�้ำมี
แสงไฟสเี ขยี วบนแพไมล้ อ่ ปลาใหม้ าตดิ ยอทชี่ าวบา้ นวางไว ้ และหาก
เพง่ มองไปทางตนี เขาก็จะเหน็ บ้านแพเรียงรายอยู่เปน็ ระยะ ๆ
“ปลาเป็นแหล่งอาหารที่ส�ำคัญของมนุษยชาติ มีส่วนสร้าง
อาณาจักรที่ยิ่งใหญ่มาตั้งแต่อดีต อย่างอาณาจักรนครวัดท่ีมีโตน
เลสาบ ประเทศสหรัฐอเมริกามีหน่วยงานอย่าง Fish and Wildlife
Service ซึ่งเขามองว่าปลาเป็นความม่ันคงทางอาหารของชาติ
ท่ใี ดมีความม่ังค่ังทางอาหาร ทน่ี ั่นกจ็ ะเจรญิ ”
อำ� พลเปลง่ เสยี งแขง่ กับเครอื่ งยนตเ์ รอื และเลา่ ตอ่ ว่า
“สงั ขละบรุ เี ปน็ อำ� เภอเลก็ ๆ มรี ายไดห้ ลกั จากการทอ่ งเทย่ี ว
แบบส�ำรวจสอบถามนักท่องเท่ียวว่ามาเท่ียวสังขละบุรีโปรดปราน
อาหารใดมากที่สุด ส่วนมากก็ตอบว่าปลา ปลาจึงเป็นส่วนเสริม
ธรุ กจิ ทอ่ งเทย่ี วทสี่ ำ� คญั ของทน่ี ่ี ซง่ึ แตล่ ะปมี รี ายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว
นับพันล้าน มาที่น่ีคงไม่มีใครอยากกินหมู ใครมาก็อยากกินปลา
เข่อื นท้งั นน้ั ”
อ่างเก็บน้�ำของเขื่อนใหญ่แห่งนี้เป็นแหล่งอาศัยของปลา
นานาพนั ธ ์ุ แตช่ ว่ งไมก่ ปี่ หี ลงั มานปี้ รมิ าณปลากลบั ลดลงอยา่ งรวดเรว็
วทิ ยา สวนตะโก หวั หนา้ กลมุ่ ปฏบิ ตั งิ านส�ำนกั บรหิ ารจดั การประมง
นำ�้ จดื เขอื่ นวชริ าลงกรณ ผทู้ เี่ กดิ และเตบิ โตในพน้ื ทรี่ มิ แมน่ ำ้� ซองกาเลยี
เคยใหส้ มั ภาษณร์ ายการคนมนั สพ์ นั ธอ์ุ าสาถงึ ความเปลยี่ นแปลงของ
ทรพั ยากรปลาในเขื่อนเทา่ ทเ่ี ขาสงั เกตมาตลอดชีวิตว่า
“แตก่ อ่ นแมน่ ำ้� บคี ลมี่ ปี ลาตลอดลำ� นำ้� ยง่ิ ชว่ งวางไขป่ ลาจะ
ชุกชุมมาก ชาวบ้านหากันแบบไม่คิดว่าจะหมด วันหนึ่งหาได้เป็น
รอ้ ยกโิ ลตอ่ ลำ� ทงั้ ชอรต์ ทงั้ ระเบดิ ตอนหลงั กม็ พี อ่ แมพ่ นั ธป์ุ ลามาตดิ
ขา่ ย เรารูว้ ่าปลาจะหมด แล้วมนั ก็หมดจริง ๆ”
102 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙