Page 162 - Skd 381-2559-11
P. 162
“ฝากรปู ลกู ปลาเลก็ ๆ “นแ่ี ค ่ ๑ ใน ๑๖,๐๐๐ ลำ�
จากอวนลากใหท้ า่ นนายกรฐั มนตรี ของเรอื อวนลากในทะเลไทย
ดกู อ่ นนอน...เผอื่ ทา่ นจะคดิ ไดว้ า่ ถกู แปรเป็ นปลาป่ นปีละ ๕ แสนตนั
ประเทศนคี้ วรจะใหม้ กี ารทำ� ประมง ใช ้‘หวั แมเ่ ทา้ ’ คดิ กค็ ดิ ออกวา่
อวนลากอยอู่ กี นานแคไ่ หน ???” ถา้ หยดุ ทำ� ลายพวกเขา ทะเลไทย
จะมที รพั ยากรสตั วน์ �้ำในทะเลมาก
แคไ่ หน ??? ทา่ นนายกฯ รมต. เกษตรฯ
ทา่ นอธบิ ดกี รมประมง ใชอ้ ะไร
คดิ ไมท่ ราบ ถงึ ยงั คดิ ไมอ่ อก ???”
ภาพและข้อความท่ีถูกโพสต์ลงเฟซบุ๊กส่วนตัวของ บรรจง นะแส นายกสมาคมรักษ์ทะเลไทย
และเพจ “รวมพลคนกินปลา” อย่างต่อเนื่อง บ่งบอกถึงความพยายามท�ำหน้าท่ีพิทักษ์รักษา
ทรัพยากรสตั วท์ ะเลอย่างกดั ไม่ปลอ่ ย
ถึงแม้ว่าอดีตของชายปักษ์ใต้ผิวสีดำ� แดงคนน้ีจะเกิดและเติบโตในครอบครัวชาวสวนยาง
จังหวัดสงขลา แต่เมื่อมีโอกาสลงพื้นท่ีใกล้ชิดชุมชนประมงชาวมุสลิมตั้งแต่เป็นนักศึกษา
ความสนใจของเขาก็ไม่เคยห่างจากทะเล โดยเฉพาะประเด็นการกอบโกยทรัพยากรจนเกิน
ศักยภาพของทะเลจะรับไหว การท�ำประมงผิดกฎหมาย ไม่ว่าเรือเถื่อน เรือสวมทะเบียน เรือ
ทำ� ประมงผิดประเภท เขาเกาะตดิ มานานมากกว่า ๓๐ ปี
ล่าสุดเร็ว ๆ นี้หลังจากรัฐบาลประกาศใช้อ�ำนาจตามมาตรา ๔๔ ยกเลิกการท�ำอวนรุน
ท่ัวน่านน้�ำไทย บรรจง นะแส คือคนแรก ๆ ที่ออกมาต้ังค�ำถามว่าเหตุใดรัฐบาลจึงเว้นไว้ซ่ึง
อวนลากและเรือปั่นไฟ สองเครื่องมือท�ำลายล้างท้องทะเลที่สร้างหายนะยิ่งกว่าอวนรุน
พร้อมเช่ือมโยงความเก่ียวเนื่องกับธุรกิจปลาป่นซ่ึงเป็นวัตถุดิบหลักของบริษัทผู้ผลิต
อาหารสัตวย์ กั ษ์ใหญ่
ทุกวันน้ีในวัยกว่า ๖๐ ปี บรรจงรู้ดีว่าแม้ตัวเองจะเป็นท่ีรักในหมู่ชาวประมงพื้นบ้าน
แตก่ เ็ ป็นทีช่ งั ในหมู่ชาวประมงพาณชิ ย์
ลองมาทบทวนปัญหาการบริหารจัดการทรัพยากรทะเล กับ
ความหวังให้ทะเลเป็นความมั่นคงทางอาหารของลูกหลานในอนาคต
จากความเห็นของชายไทยใจนักเลงคนน้ี
160 พฤศจิกายน ๒๕๕๙