Page 44 - Skd 381-2559-11
P. 44
P e r s o n
นักออกแบบฟารม์ สขุ
หากสถาปนิกคือผู้มีส่วนชี้เป็นช้ีตายส่ิง เมื่อเรียนจบ ฝ้าย-ลภัสรดา ยศฐา จึง หิมพานต์ ยางพารา และกฤษณา มาทดลอง
แวดลอ้ ม กลับบ้านสานต่อฝันที่โหยหา ชวนพ่ีชายคน ผลิตอาหารกินเอง โดยใช้เมล็ดพันธุ์พ้ืนถิ่น
ไร่อินทรีย์ Farm FamFai ต�ำบลในเวียง รองสมคั รโครงการ “WWOOF Japan” ซงึ่ เปดิ และเมลด็ พนั ธจ์ุ ากญปี่ นุ่ อยา่ งผกั สลดั ผกั กาด
อำ� เภอเมอื งน่าน กค็ อื รูปธรรมน้ัน รับอาสาสมัครไปแลกเปล่ียนวัฒนธรรมกับ ผักโขม วาซาบิ หัวไชเท้าสีม่วง พริกหนุ่ม
ในวันที่จังหวัดน่านเต็มไปด้วยปัญหา เจ้าของไรอ่ อรแ์ กนิกเปน็ เวลา ๓ เดือน ฟักทอง ข้าวโพด ถ่ัวต่าง ๆ ไปจนผลไม้อย่าง
กลุ่มนายทุนเข้ามาป้อนอาชีพปลูกข้าวโพด ขนุน มะปราง มัลเบอร์ รี ฯลฯ แปลงหนึ่งจะ
เลี้ยงสัตว์โดยมีรัฐบาลช่วยส่งเสริม แล้วเรา “ในบรรดาฟาร์มทั้งห้าเมืองท่ีเราอยู่ มี ปลูกสามส่ีชนิด โดยประยุกต์ระบบเกษตร
ก็อุดหนุนเนื้อสัตว์เหล่านั้นเป็นอาหารผ่าน โฮสต์คนหนึ่งท�ำเกษตรแบบ biodynamic ชวี พลวตั กบั องคค์ วามรตู้ ดิ ดนิ แตอ่ นิ เตอรแ์ บบ
ข้าวมันไก่ ขาหมู สเต๊ก ฯลฯ น่ายินดีท่ีมีคน agriculture-เกษตรชีวพลวัต อาศัยปฏิทิน เพอร์มาคัลเชอร์ (permaculture) จัดวางรูป
รุ่นใหม่ให้ความรู้สึกกับเบ้ืองหลังอาหารท่ี เพาะปลูกหรือเก็บเกี่ยวโดยใช้หลักโคจรของ แบบภูมิสถาปัตย์ ใช้ทรัพยากรในพ้ืนที่ผลิต
ไม่เป็นธรรม โดยปรับตนเป็นผู้ผลิต ลดการ ดวงตะวันและดวงจันทร์ที่เชื่อว่าอิทธิพลของ พลงั งานเพอ่ื ลดการใชน้ ำ้� โดยนำ� ทอ่ นซงุ กงิ่ ไม ้
อดุ หนุนเน้ือสัตว์ เดือนมืด-เดือนหงายมีผลต่อคน สัตว์ พืช ซึ่ง ใบหญ้า กองบนฐานแปลงผัก ปลูกผักบน
อาจเพราะรู้เห็นจากการเติบโตมาท่าม มีน้�ำหล่อเล้ียงภายใน อย่างเวลาคนโบราณ เนินน้ัน ซึ่งเธอใช้รากไม้ของต้นสักท่ีตัดขาย
กลางธรุ กจิ ของพอ่ แมท่ ท่ี ำ� ฟารม์ ไกส่ ง่ ใหน้ ายทนุ ตัดไม้ในป่าจะเลือกตัดวันเดือนมืดเพราะมี แล้วเป็นวัสดุขึ้นโครง ปล่อยให้พืชรับสาร
รายใหญ่ แรงดึงดูดให้เกิดน้�ำน้อยกว่าเดือนหงาย พอ อาหาร ความชื้น จากอินทรียวัตถุด้านล่าง
หรือเพราะมีปัญหาระบบย่อยอาหาร ตัดปุ๊บไม้ก็แห้งเร็ว มอดไม่กิน และยังได ้ ตามธรรมชาติ
กนิ เนอื้ สตั วแ์ ลว้ รสู้ กึ อดึ อดั จงึ หนั มากนิ มงั สวริ ตั ิ ไม้แข็งอีก หรือการปลูกผักอินทรีย์ก็ท�ำให้
ตั้งแต่อายุ ๑๙ ปี เป็นเหตุให้เริ่มหาข้อมูล เกษตรกรได้รับพลังชีวิตต่างกัน พืชที่ได้รับ “เราเข้าสวนทุกวัน ขุดดิน เพาะต้นกล้า
042 เกี่ยวกับวิธีปลูกผักรูปแบบต่าง ๆ พอวันหยุด แสงอาทิตย์เต็มที่ย่อมท�ำให้คนกินแข็งแรง ดว้ ยตวั เอง เรยี นรสู้ ตู รตา่ ง ๆ จนพบวธิ ที เี่ หมาะ
ตา่ งจากพชื ทถี่ กู เรง่ ใหเ้ ตบิ โตอยา่ งผดิ ธรรมชาติ กับพื้นท่ี ชีวิตแบบน้ีดีมากเลย ครอบครัวเรา
ก็ออกตา่ งจงั หวดั หดั ใช้ชีวิตกบั เกษตรกร คนกินก็พลอยได้รับพลังชีวิตน้อยลง น่ีเป็น ได้กินอาหารดี ๆ หม่าม้าได้ใช้เป็นวัตถุดิบท�ำ
กระทั่งเม่ือเรียนสาขาสถาปัตยกรรม ศาสตร์โบราณท่ีคนไทยก็รู้ แต่เกษตรกรสมัย ขนมบริการลูกค้าที่ร้านกาแฟของครอบครัว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี ใหม่มองข้ามเพราะเช่ือว่ายาฆ่าแมลงหรือปุ๋ย ท่ีเหลือขายแบบผักสด คนซ้ือจึงแน่ใจได้ว่า
มโี อกาสฝกึ งาน ๔ เดอื นกบั บรษิ ทั รบั ออกแบบ เคมใี ห้ผลผลิตเรว็ กวา่ ” เป็นผลผลิตมาตรฐานเดียวกับที่เราผลิตให้
ระดบั ห้าดาวในกรงุ เทพฯ รบั งานหรู ฟ่มุ เฟือย คนในครอบครวั กิน”
วัสดุธรรมชาติ ทุ่มเงินเพ่ือให้ได้สิ่งที่ดีที่สุด หลงั หอบแรงบนั ดาลใจศาสตร-์ ศลิ ปแ์ หง่
มาใช้ ผ่านการแปรรูป ใช้ทรัพยากรโลกอย่าง กสิกรรมธรรมชาติกลับจากญ่ีปุ่น เธอเริ่ม บรเิ วณเดยี วกนั ของ “Farm FamFai” ยงั
ส้ินเปลือง ยิ่งตอกย�้ำให้เธอเข้าใจวิถีท่ีดีดห่าง ออกแบบชีวิตด้วยต้นทุนจากครอบครัว ขอ จัดสรรพ้ืนที่เล้ียงสัตว์ โดยพ่ีชายอายุห่างกัน
จากความร้สู ึก แบ่งพื้นท่ี ๒๐ ไร่จากทั้งหมดท่ีมีอยู่ ๖๐ กว่า ๒ ปีเป็นผดู้ ูแล
ไร่ ซ่ึงเป็นสวนป่าปลูกไม้สักสลับกับมะม่วง
“ผมเรียนจบคณะบริหารธุรกิจ สาขา
อสงั หารมิ ทรพั ย ์ เคยทำ� งานเกยี่ วกบั โลจสิ ตกิ ส์
ถา่ นหนิ ทก่ี รงุ เทพฯ ๒ ป ี ทงั้ เครยี ดและท�ำงาน
ไมเ่ ปน็ เวลา กวา่ จะถงึ บา้ นเทย่ี งคนื ไดเ้ งนิ เยอะ
แต่ไมค่ ุ้มกับสขุ ภาพทเ่ี สยี ไป”
พอน้องสาวมาบอกเล่าความฝัน เฟม-
ณัฐดนัย ยศฐา จึงเห็นดี ตัดสินใจลาออก
จากงานประจ�ำเพ่ือร่วมเดินทางไปญี่ปุ่นใน
โครงการ “WWOOF Japan” ศกึ ษาเรอื่ งเกษตร
ที่ตงั้ ใจจะกลบั มาทำ� ดว้ ยกัน
เมื่อความฝันเบ่งบานเต็มท่ีพร้อมความ
สะดวก สองพน่ี อ้ งจงึ เรมิ่ เนรมติ พน้ื ทมี่ รดกของ
ครอบครัว
“ผมไม่มีความรู้เร่ืองสัตว์มาก่อน อาศัย
ความชอบท่ีคลุกคลีกับฟาร์มไก่มาตั้งแต่เด็ก
Living Green