Page 78 - Skd 381-2559-11
P. 78

ASEAN Community   Ú  เร่ือง : สุเจน กรรพฤทธ์ ิ   ภาพ : บนั สิทธิ์ บุณยะรัตเวช

เก“แใจนน่ิลาภเกเระวม๋ิ าต เ“ยีษดู๋* (ดนTานิr̀ânไน ยิCททẩmาา ยาTúมย)ง”ขไทอยง”   

“ดิฉันเป็นคนฮานอย เริ่มเรียนภาษาไทยตอนปี ๒ ขณะเรียน                                       “พอปีสุดท้าย  (ค.ศ.  ๒๐๐๕)  ได้ทุนมาอบรมท่ี  มศว.  ๑  เดือน
ปริญญาตรีหลักสูตรภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศ                             ถือเป็นการออกไปต่างประเทศคร้ังแรก มาเมืองไทยท�ำให้เข้าใจเมอื ง
ซ่ึงอยู่ภายใต้โครงสร้างมหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม  (National                       ไทยแบบทเ่ี ปน็ จรงิ  ไมช่ อบคอื เดนิ ทางใน กทม. ลำ� บาก อาจเพราะคุ้น
University) อกี ชน้ั หนงึ่   ตอนป ี ๒ เทอม ๒ จะถกู บงั คบั ใหเ้ รยี นภาษา           กบั การขม่ี อเตอรไ์ ซคใ์ นฮานอย แตใ่ น กทม. ไมม่ รี ถสว่ นตวั จะยากมาก 
ต่างประเทศอีกหนึ่งภาษา    ตัวเลือกตอนน้ันมีจีนที่เรามองว่ายาก                       มลพษิ และขยะกม็ าก  ตอนนนั้ ยงั มโี อกาสไปสโุ ขทยั  พระนครศรอี ยธุ ยา
ฝร่ังเศสที่เรากลัวเรียนแล้วไปตีกับภาษาอังกฤษ    ส่วนภาษาไทย                         สถานท่ีส�ำคัญรอบกรุงเทพฯ  ท�ำให้มีทักษะภาษาไทยเพ่ิมขึ้น  เพราะ
เป็นภาษาใหม่ท่ีเพิ่งเปิดสอนโดยมีความร่วมมือระหว่างกระทรวง                           สถานการณ์จริงต่างจากในห้องเรียน    ในหนังสือเราส่ังก๋วยเตี๋ยวหนึ่ง
การตา่ งประเทศของไทยกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารของเวยี ดนาม ภายใต้                      ชาม แต่ของจริงมกี ๋วยเต๋ียวมากมายหลายประเภทยอ่ ยลงไปอกี
การด�ำเนินการของโครงการทุน  TICA  (ปัจจุบันคือกรมความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ)  ส่งครูคนไทยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ                                  “ต่อมาดิฉันได้ทุนจากกระทรวงการต่างประเทศไทยมาเรียน
ประสานมิตร  (มศว.)  มาสอน    เราเห็นเป็นภาษาใหม่เลยลองเรียน                         ปริญญาโทด้าน  ‘การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ’  ที่
โดยท่ีรู้แค่ไทยเป็นประเทศใกล้ ๆ    ตอนนั้นคือ  ค.ศ.  ๒๐๐๓  โซเชียล                  มศว.  ใช้เวลา  ๑  ภาคการศึกษา    เรียนปรับภาษาไทยเพ่ือจะเรียน
มเี ดยี ไมม่  ี อนิ เทอรเ์ นต็ ในเวยี ดนามยงั ไมแ่ พรห่ ลายนกั  ความรเู้ กยี่ วกบั  ทันเพื่อนในชั้นเรียนที่ใช้แต่ภาษาไทย    ดิฉันเลือกท�ำวิทยานิพนธ์
ไทยจงึ นอ้ ยมาก ๆ                                                                   เรอ่ื งผลติ สอ่ื การสอนวฒั นธรรมไทยใหค้ นเวยี ดนาม ท�ำใหต้ อ้ งกลบั บา้ น
                                                                                    ไปเก็บข้อมูลท่ีมหาวิทยาลัยเดิม  ด้วยการใช้สื่อกับนักศึกษาเวียดนาม
      “เรยี นภาษาไทย ๖ ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาหใ์ นฐานะวชิ าโท  อาจารย์                  แลว้ นำ� ผลสรุปมาเสนอ
คนไทยสอนสนุก  เรารู้สึกว่าภาษาไทยคล้ายภาษาเวียดนามในแง่
โครงสร้าง  ฟังและพูดง่าย  แต่อ่านและเขียนยากเพราะเสียงบางเสียง                            “ผลคอื สอ่ื การสอนจะมสี ว่ นชว่ ยทำ� ใหค้ นเวยี ดนามทเ่ี รยี นภาษา
ไมม่ ใี นภาษาเวยี ดนาม เชน่ เสยี งไมโ้ ท  เราเรม่ิ ตง้ั แต ่ ก ข ค หดั สะกดคำ�      ไทยเขา้ ใจวฒั นธรรมไทยมากขน้ึ   การมาไทยรอบนที้ ำ� ใหม้ องสงั คมไทย
ผสมเสยี ง อาจารยใ์ ชว้ ธิ สี อนหลายแบบ เชน่  เอาคนไทยมาพดู คยุ กบั เรา              ลึกซ้ึงข้ึน  เรียนจบก็กลับไปสอนภาษาไทยที่มหาวิทยาลัยฮานอย  สัก
                                                                                    พักก็รู้สึกว่าย�่ำอยู่กับท่ี  อยากหาความรู้เพิ่ม  เลยสอบชิงทุนแล้วได้มา
*อาจารย์ประจ�ำศูนยเ์ ผยแพรภ่ าษาและวัฒนธรรมไทย                                      เรียนปริญญาเอกสาขาวิชาไทยศึกษา  (หลักสูตรนานาชาติ)  ที่ศูนย์
มหาวทิ ยาลัยฮานอย ประเทศเวียดนาม                                                    ไทยศกึ ษา คณะอกั ษรศาสตร ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั  โดยเรยี นเปน็
                                                                                    ภาษาองั กฤษ

76 พฤศจิกายน ๒๕๕๙
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83