|
|
|
|
จักรยานชายขนาด
๒๘ นิ้ว ยี่ห้อบีเอสเอ (เจ้าของ :
ธนิต ห้วยหงษ์ทอง)ก า ร ก ลั บ ม า ข อ ง ร ถ ถี บ เรื่องเริ่มขึ้นเมื่อร้อยกว่าปีก่อน
เมื่อมีเหตุให้
เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ ต้องเร่งรุด
เดินทางไปยังประเทศอังกฤษ
เพื่อเจรจาความเมือง
นอกจากทูตพิเศษท่านนี้
จะปฏิบัติภารกิจ
ได้สำเร็จอย่างงดงามแล้ว
ท่านยังถือโอกาส
ดูงานในประเทศอังกฤษ และยุโรป
ก่อนกลับด้วย
ในโอกาสนั้นเอง
ยานพาหนะชนิดใหม่
ที่ยังไม่มีชื่อเรียก ในภาษาไทย
ก็ถูกขน
ใส่เรือกลับมาด้วยหลายคัน
ไม่นานนัก
เจ้ายานพาหนะคันนี้
ก็เริ่มเป็นที่คุ้นเคย
ของชาวสยาม และเป็นที่นิยม
อย่างแพร่หลาย ในเวลาต่อมา
ด้วยชื่อเรียกต่าง ๆ เริ่มจาก
"ไตรศิเคอล" "รถถีบ"
"ทวิจักรยาน" "ไบศิเกอล"
กระทั่งถึง "จักรยาน" ที่ ก.ศ.ร.
กุหลาบ เสนอให้ใช้เรียก
ยานพาหนะที่ชื่อ "bicycle"
จักรยานหรือรถถีบ
ในเมืองไทย
ผ่านช่วงเวลาอันรุ่งเรือง มาถึง
๖๐ ปี มีจักรยานจากต่างแดน
หลากหลายยี่ห้อ ให้เลือกซื้อหา
ทั้ง ราเลห์ ฮัมเบอร์ ฟิลิปส์
เฮอร์คิวลิส บีเอสเอ โรบินฮูด
ซันบีม ไทรอัมห์ จนถึงยุคของ
จักรยานเฟสสัน
ถึงเวลาหนึ่ง
รถถีบเหล่านั้น
กลับกลายเป็นของล้าสมัย
ถูกซุกอยู่ในซอกมุม ของบ้าน
ปล่อยให้ฝุ่นจับ ผุพังไปตามกาล
ทว่าไม่นานมานี้
รถถีบก็เดินทางกลับมาอีกครั้ง
จากซอกมุมที่ถูกทอดทิ้ง
ออกมาจับต้อง แดดเงา
และโลกภายนอก
ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย
แม้แต่ผู้ซึ่งนำรถถีบ
กลับมาใช้ก็ "เปลี่ยน" ไปแล้ว
|
|
ข บ ว น
ก า ร ส ำ ร ว จ โ พ ร ง น ก หั ว ข ว า น
เมื่อผู้เชี่ยวชาญเรื่องนกเงือก
อย่าง ดร. พิไล พูลสวัสดิ์
เจียดเวลาไปศึกษาวิจัย
เรื่องนกหัวขวาน นั่นแสดงว่า
เรื่องราวของนกชนิดนี้
ต้องน่ารู้น่าสงสัยเป็นอย่างยิ่ง
คณะวิจัยที่มุ่งศึกษาเรื่อง
"ศักยภาพของนกหัวขวาน
ในการก่อให้เกิด
โพรงรังแก่นกเงือก" ประกอบด้วย
ดร. พิไล, นักวิชาการ
และคณะผู้ช่วย
ที่มีมากหน้าหลายตา
ได้เฝ้าติดตาม การสร้างรวงรัง
ในโพรงไม้ โดยนกหัวขวาน--
นกชนิดหนึ่ง
ที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง
ต่อการอยู่รอด ของนกเงือก
และสัตว์ชนิดอื่น และพบว่า
นกหัวขวานมีคุณค่า
ทั้งทางนิเวศวิทยา
และทางเศรษฐกิจ
อย่างที่คาดไม่ถึงทีเดียว
กว่าจะได้เข้าใจ
การสร้างโพรงรัง
ของนกหัวขวานอย่างแท้จริง
คณะวิจัย
ต้องเผชิญหน้ากับเสือโคร่ง
ช้างป่า งูจงอาง ชนิดขนหัวลุก
และต้องใช้ชีวิต
ทำงานในป่าอย่างยากลำบาก
แล้วองค์ความรู้ใหม่
ก็เกิดขึ้น
เมื่อการวิจัยสำเร็จลุล่วง
ซึ่งเรื่องทั้งหมด
ได้รับการบันทึกไว้ใน สารคดี
ฉบับนี้แล้ว
|
|
ก า ร ก
ลั บ ม า ข อ ง ร ถ ถี บ รถถีบ หรือจักรยาน
เดินทางไกลจากยุโรป มายังสยาม
กว่าศตวรรษแล้ว และ "กลับมา"
อีกครั้ง
หลังจากเงียบหายไปพักใหญ่
...ทว่าการกลับมาครั้งนี้ไม่เหมือนเดิม
เมื่อห้าหกปีก่อน
จักรยานเก่าคร่ำคร่า
ที่เคยจอดทิ้งไว้ใต้ถุนบ้าน เฉย
ๆ ถูกยกขึ้นตาชั่ง
คันแล้วคันเล่า
แปรเปลี่ยนเป็นเงินตรา
ในราคากิโลกรัมละ ๓ บาท
แต่มาวันนี้ จักรยานเก่าบางคัน
ถูกเสนอซื้อ ในราคาแพงกว่านา ๑
ไร่ หรือขอแลกด้วย
รถกระบะมือสอง
จักรยานเก่า ถูกกว้านซื้อ
ไปอยู่ในมือนักสะสม
ซึ่งล้วนกล่าวตรงกันว่า
พวกเขาคุ้นเคย
กับจักรยานสัญชาติอังกฤษ
มาแต่ครั้งเยาว์วัย
การได้ขี่จักรยานอีกครั้ง
เหมือนกับได้เจอเพื่อนเก่า
แต่การ "กลับมา"
ครั้งนี้ จะมีประโยชน์อะไร
ถ้าความรักในรถถีบ ถูกความโลภ
เข้าครอบงำ
เรื่องราวจะเป็นเช่นไร--
หาคำตอบได้ในสารคดีพิเศษเรื่องนี้
|
|
Special
Attractions
|
|
Cover: This 28-inch BSA for men now owned
by Thanit Huayhongtong had been hanging, forgotten in a rice storehouse in Nakon Sawan
Province for 10 years. After some cleaning and fixing up, it is once more the high quality
"pedal machine" it was designed to be.
|
|
Studying
Woodpecker Nest Holes
Living in the depths of the Huay Kha Khaeng forest, a small but hardy research team
mastered rope-climbing, took turns coming down with malaria, shared bathing space in the
creek with water buffaloes, and had daily (and unexpected) encounters with wild animals
while gathering important information about local woodpeckers and their behavior in
exacavating nests in trees. Implications from the study tell us about the woodpecker's
specialized role in the ecosystem and the economy.
Continue: click here
|
|
The Return of
the "Pedal Machine"
"Get a bicycle. You will not regret it if you live." Mark Twain said this over a
century ago, but old man Tongdee of Lampoon Province, who had refused to sell his much
older bicycle to a group of city people one afternoon in 1998, knew neither English nor
Mark Twain. All he knew was his bicycle and an odd feeling that something was up which he
didn't quite understand. That something had to do with strangers from Bangkok who offered
to buy his ancient machine for 5,000 baht.
Continue: click here
|
|
Aesthetics of the
Human Body The naked
human body has been a subject for art throughout history. In the West, it has inspired
such works as Botticelli's The Birth of Venus and Michelangelo's David. In the East,
unlike realististic representation of Western tendency, the body is used to express
idealistic qualities of physical beauty and spiritual wisdom. The human body seems to have
always fascinated us, perhaps because it is a subject so close to the artist, one that he
most understands, yet continues to boggle his mind.
|
|