ส า ร บั ญ |
โลกใบใหญ่ |
โลกใบเล็ก |
|
เว็บไซต์ฆ่าตัวตาย |
โลกใบเล็ก |
|
เงินซาเพราะซาร์สมา |
ชุมชน |
|
"หวย" ที่หายไป
จากบัญชีครัวเรือน |
คอมพิวเตอร์ |
|
Poetry โปรแกรม ช่วยแต่งกลอน
ภาษาไทย |
วัฒนธรรม |
|
กาหลอ มโหรีส่งวิญญาณ |
สะกิดตา-สะกิดใจ
|
เกร็ดข่าว |
|
การ์สแตง
เมืองค้าขายยุติธรรม
เมืองแรกของโลก |
เกร็ดข่าว |
|
ปริศนาป่าชายเลน ๕ แสนไร่ |
คนไทยค้นพบ |
|
ปลาปล้องทองปรีดี ปลาชนิดใหม่ของโลก |
ที่นี่มีอะไร
|
หนังสือบนแผง |
โลกบันเทิง |
ชวนอ่าน |
|
ชวนอ่านหนังสือเรียน :
เสียงก้อง
จากโรงเรียนเชิงเขา VS ความฝันของบัวตอง
|
คนกับหนังสือ |
|
The Wedding Banquet ครอบครัวกับความรัก
ในยุคโพสต์โมเดิร์น
|
โลกธรรมชาติและวิทยาการ |
โลกวิทยาการ |
|
มุก : อัญมณีจากทะเล |
ส่องจักรวาล |
|
เดือนของ
เทพเจ้าแห่งสงคราม |
คลื่นความคิด |
|
ปรากฏการณ์ "โลกใบเล็ก" คนทั้งโลกรู้จักกันไม่เกิน ๖ ช่วง...จริงหรือ ? |
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ |
|
ภารกิจนักวิทยาศาสตร์ : มิชชัน อิมพอสซิเบิล |
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
|
เชิญดอกไม้
|
|
ดอกทับทิม |
เรื่องจากปก
|
เรื่องเด่นในฉบับ
|
สารคดีพิเศษ
|
Special Attractions
|
จากบรรณาธิการ
|
บ้านพิพิธภัณฑ์
|
|
ตลาดชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ |
เขียนถึงสารคดี
|
Feature@ Sarakadee.com |
ห้องภาพปรินายก
|
สัมภาษณ์
|
|
สาธิต กาลวันตวานิช ครีเอทีฟไดเร็กเตอร์ Propaganda "ฝนสมองก่อน
ค่อยสร้างแบรนด์ สู้กับโลก" |
เขียนด้วยคน
|
|
แบบหวย ๆ |
จิตวิทยา |
|
ไลออนคิง (๕) วัยรุ่นน่ารัก |
ซองคำถาม |
|
เทนนิสแกรนด์สแลม |
|
มีกี่ประเทศในโลก
ที่พูดภาษาสเปน |
บทความพิเศษ
|
|
ย้อนรำลึก ๗๐ ปี ศาลาเฉลิมกรุง |
ข้างครัว |
|
ซีไอเอ |
เฮโลสาระพา
|
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้" |
|
|
|
|
เรื่องจากปก
|
|
|
นกแต้วแล้วท้องดำ บนเส้นทางแห่งการสูญพันธุ์ ?
นกแต้วแล้วท้องดำเป็นสัตว์ป่าสงวน ๑ ใน ๑๕ ชนิดของไทย ปัจจุบันอยู่ในภาวะวิกฤตและใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง คาดว่าเหลืออยู่ในสภาพธรรมชาติเพียง ๑๐ กว่าคู่เท่านั้น
ภาพที่เห็นนี้บันทึกได้จากป่าที่ราบต่ำเขานอจู้จี้ จังหวัดกระบี่ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖ นับเป็นภาพนกแต้วแล้วท้องดำที่ได้รับการยอมรับว่าดีที่สุดชุดหนึ่งของโลก นับตั้งแต่มีการค้นพบนกชนิดนี้
|
สารคดีพิเศษ
|
|
|
นกแต้วแล้วท้องดำ... บนเส้นทางแห่งการสูญพันธุ์
สิบเจ็ดปีก่อน วงการอนุรักษ์ทั่วโลกต่างตื่นเต้นยินดี กับข่าวการค้นพบนกแต้วแล้วท้องดำอีกครั้งที่ป่าที่ราบต่ำเขานอจู้จี้ จังหวัดกระบี่ หลังจากเชื่อว่านกชนิดนี้ได้สูญพันธุ์ไปแล้วเกือบศตวรรษ ภายหลังรัฐบาลไทย
ได้ประกาศให้ป่าแห่งนี้เป็นพื้นที่อนุรักษ์
เพื่อให้การคุ้มครองนกแต้วแล้วท้องดำราว ๓๕ คู่ที่สำรวจพบในเวลานั้น สองปีถัดมา นกแต้วแล้วท้องดำได้รับการประกาศให้เป็นสัตว์ป่าสงวน เพื่อให้การปกป้องคุ้มครองในระดับสูงสุด
ทว่าความโด่งดัง และความพยายามในการอนุรักษ์กลับไม่สามารถกอบกู้นกแต้วแล้วท้องดำให้พ้นจากเส้นทางแห่งการสูญพันธุ์ได้ มิหนำซ้ำกลับตกอยู่ในภาวะวิกฤต และใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง และน่าจะเหลืออยู่เพียง ๑๐ กว่าคู่เท่านั้นในเวลานี้
....ทำไม ?อ่านต่อคลิกที่นี้
|
|
|
ตามรอยพุทธบาท ยาตราเยือนพุทธภูมิ
สังเวชนียสถาน
ในขณะที่อินเดียส่วนหนึ่งกำลังเดินทางออกไปค้นหาคำตอบทางโลก สนองกิเลสใคร่รู้ในสิ่งพ้นตัว ทั้งการยิงดาวเทียมดวงใหม่ขึ้นสุ่เวหา ส่งออกโปรแกรมเมอร์ไปทำงานทั่วโลก มีอาวุธนิวเคลียร์พร้อมรบ และยืนอยู่บนแถวหน้าของโลกไฮ-เทคโนโลยี คนอีกกลุ่มหนึ่งกำลังเดินทางย้อนกลับเข้าสู่ภายในตัวตน ค้นหาจุดกำเนิดแห่งศรัทธาปสาทะในศาสนา ด้วยการตามรอยบาทศาสดา ยาตราสู่...ดินแดนพุทธภูมิ เยือนตำบลเล็ก ๆ ๔ แห่งของอินเดีย พุทธคยา, ธัมเมกขสถูป, กุสินารา และลุมพินี กับทั้งพุทธสถานรายทางอีกบางแห่ง ทั้งหลายล้วนยังมีความสืบต่อของศรัทธาชาวพุทธ...
แต่คำถามหนึ่งก็เกิดขึ้นตลอดการเดินทาง พุทธศาสนาใยจึงห่างหายไปในอินเดีย
...หรือนั่นคืออนิจจังอ่านต่อคลิกที่นี้
|
|
|
สวนส้ม-คน-ป่า ในรอยธรรมของ
พระอธิการเอนก จนทปัญฺโญ
ใครจะคิดบ้างว่า ส้มสีเหลืองทอง หวานฉ่ำชุ่มลิ้น--จะมีเรื่องราวเบื้องหน้าเบื้องหลัง
นอกจากการเป็นผลไม้ลื่อชื่อจากเมืองเหนือ ...สวนส้มพื้นที่ ๗๕,๐๐๐ ไร่ในเขตสามอำเภอของเชียงราย คือที่มาของปัญหาการบุกรุกป่าเพื่อเอาไปทำเป็นสวนส้ม การแย่งชิงน้ำ
ปัญหาเรื่องการใช้สารเคมี
ที่ทำให้ชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียง
ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพกันถ้วนหน้า
ไม่มีองค์กรเอกชนหรือหน่วยงานใดจะมาช่วยเหลือแก้ปัญหาให้ชาวบ้าน "พระอธิการเอนก" กลายมาเป็นที่พึ่งเดียว ชาวบ้านที่เดือดร้อนและสิ้นหวัง ต่างมาปรึกษาและของความช่วยเหลืออยู่เนือง ๆ
ในสภาพการณ์ที่สังคมโดยรวมเสื่อมศรัทธาต่อสงฆ์ แต่ทำไมพระอธิการเอนกจึงเป็นศูนย์รวมของชาวบ้าน และ
สามารถฝ่าฟันปัญหาไปได้...เป็นเรื่องที่น่าติดตามเป็นอย่างยิ่ง
อ่านต่อคลิกที่นี้
|
Special Attractions |
|
|
Cover: What lies in future? A new attempt is made to save the few remaining Gurney's Pitta in the south of Thailand, which could pave way for the survival of the bird.
Vol. 19 No. 222 August 2003 |
|
|
|
|
|
Last Flight of the Gurney's Pitta?
Bird lovers were delighted at the rediscovery of the Gurney's Pitta-previously presumed to have gone extinct-at the lowland rainforest in Krabi province 17 years ago. From then, much have been done to conserve the endangered species including a promulgation of the area into a conservation zone and an addition of the bird into the country's list of reserved species, which entails maximum protection. Still, the bird's number remain low, its status critical, mainly because what has been done was not enough to stall the continuous destruction of the lowland rainforest, its habitat.
At present, a new project is set up which seeks to save the remaining birds by soliciting cooperation from every party involved. The survival of the Gurneys Pitta very much hinges on this attempt.
Continue: click here
|
|
|
Buddhist Holy Sites
Though pilgrimage is not an official requirement of Buddhist teachings, Buddhists from around the world journey to four sacred sites marking the birth, enlightenment, first sermon, and final resting-place of the Gautama Buddha. In this article Sarakadee explores the sights and sacred atmosphere of these holy destinations in present-day India and Nepal.
Continue: click here
|
|
|
Phra Anake Jantapanyo: The Ray of Hope Over the River Fang
Ten years ago, the Wingdong forest in Fang district, Chiang Mai, was but a sad sight of degeneration _ wizened trees, dry, cracking soil and intolerable heat. Saddened by the rapid deterioration of the once-fertile forest, Phra Anake Jantapanyo was determined to revive it. The monk started by campaigning among villagers about the importance of the forest. Eventually, he helped set up local conservation groups that work on both forest protection and reforestation.
The attempt has borne fruit. After more than ten years, the Wiengdong forest is considered one of the largest rehabilitated pieces of forest in Thailand. The hard work is not over, however. With Fang billed as a suitable land for orange production, large-scale plantations have come in and the problems of competition over water, chemical contamination and conflicts over land use ensue.
Continue: click here
|
สะกิดตา |
|
สะกิดใจ |
เกาะเสาไฟฟ้า
ริมทางหลวงสุราษฎร์ธานี-กระบี่ สาย ๔๔
(ภาพ: บุญกิจ สุทธิญาณานนท์) |
|
"ผมพยายามเข้าใจธรรมชาติ
และอยากให้ทุกคนเข้าใจธรรมชาติว่า เราสามารถเปลี่ยนแปลงธรรมชาติได้ แต่ผลกระทบจะถึงตัวเราเองเสมอ
การเป็นนักอนุรักษ์จึงควรมีเป้าหมายว่า
ทำอย่างไรให้คนเข้าใจธรรมชาติ
รู้จักอยู่
และใช้ธรรมชาติให้ดีที่สุด โดยไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แล้วเราก็จะแก้ปัญหาได้ในที่สุด"
ดร.สุรพล สุดารา
จากหนังสือพิมพ์ข่าวสด ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๖ |
|
|