Page 138 - Skd 381-2559-11
P. 138
ลุงพงยกถุงกะหล�่ำปลีท่ีลอกใบแก่ทิ้งไปเรียบร้อยแล้วตาม ต้นกล้าผักสลัดทุกต้น
ข้อก�ำหนดการส่งวัตถุดิบของโรงพยาบาล ขึ้นวางบนตาชั่งสีเขียว ล้วนผ่านตาใส่ใจให้สารอาหาร
ส�ำหรบั ช่งั ผกั หน่ึงหลุมหน่ึงต้น
ลุงพง เจ้าของไร่
“๒๓ กิโล” เจา้ หน้าทข่ี านจำ� นวนทปี่ รากฏบนหน้าปดั
ลงุ พงกม้ ดูตวั เลขในใบสงั่ ซื้อ รายการกะหลำ่� ปลีระบตุ ัวเลข
ไว้ ๑๘ กิโลกรัม แกดึงผ้าขาวม้าท่ีคาดเอวให้กระชับข้ึนเล็กน้อย
กอ่ นจะอู้ค�ำเมอื งตอบกลบั ว่า
“ซาวสามกะ๊ อน้ั กอ่ เกนิ มา ๕ กโิ ล บะ่ เปน็ หยงั ๆ ลงุ ปน๋ั หอื้ ”
(๒๓ หรือ อยา่ งนั้นกเ็ กินมา ๕ กโิ ล ไม่เปน็ ไร ๆ ลุงแถมให)้
บรรยากาศของการปันน้�ำใจระหว่างผู้ซ้ือกับผู้ขายมีให้เห็น
ได้บ่อย ๆ ท่นี ่ี
น้าปุ้ย-กฤติญา ชัยทะวี สาวเชียงรายโดยก�ำเนิด ท�ำงาน
ด้านโภชนาการอาหารของโรงพยาบาลมานานพอ ๆ กับน้าติ๊กและ
น้าเจีย๊ บ ยำ้� ถึงแนวทางส�ำคัญทท่ี ีมงานถอื ปฏบิ ัติ
“เราต้องปันใจให้เขา อย่างบางคร้ังเกษตรกรส่งสินค้ามา
ไมต่ รงตามสเปก็ ทเ่ี รากำ� หนด เรากร็ บั นะ หากวา่ มนั ไมถ่ งึ ขนั้ เนา่ เสยี
แล้วค่อยอธิบายว่าท่ีถูกเป็นอย่างไร ซึ่งโดยหลักการเราต้องคืน แต่
นึกดูว่าเกษตรกรเอาผลผลิตมาส่งแล้วแต่เราไม่ซ้ือ แล้วเขาจะท�ำ
ยงั ไง เราตอ้ งนกึ ถึงใจเขาด้วย”
136 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙