Page 140 - Skd 381-2559-11
P. 140
ข้ามไปเก็บมะเขือเปราะท่ีปลูกไว้ปลายนาส�ำหรับส่งให้ครัวโรง เล้ียงครอบครัวทูลอินทร์ให้มีกินมีใช้ไม่ขัดสน เร่ิมจากแปลงเล็ก ๆ
พยาบาลในวนั พรงุ่ ลมเยน็ พดั วบู มาแรงหนงึ่ เธอหยดุ เทา้ ยกมอื ขน้ึ เนน้ ปลกู กนิ เองและแบง่ ปนั ใหเ้ พอื่ นบา้ น คอ่ ย ๆ ขยบั ขยายหาตลาด
กระชบั หมวกปกี กวา้ งแบบชาวสวนท่สี วมมาให้แนน่ ขน้ึ วางขาย เพ่ือส่งต่อผักผลไม้ปลอดภัยสู่ผู้บริโภค ทั้งคู่เล่าว่าใน
ช่วงแรกน้ันเกือบจะเลิกไปเหมือนกัน เพราะการที่ต้องท�ำกันเองทั้ง
ไม่นาน ป้าหมู-นงคราญ ทูลอินทร์ ภรรยาของลุงพง ก็ ปลูกและหาแหล่งรับซื้อที่แน่นอนน้ันเหน่ือยเอาการ อีกท้ังคนทั่วไป
เดินกลับมาพร้อมมะเขือเปราะ นอกจากน้ันยังมีผักอ่ืน ๆ ท่ีแวะเก็บ มักยังไม่เข้าใจว่าท�ำไมผลผลิตเกษตรอินทรีย์ท่ีไม่ได้ซ้ือปุ๋ยซื้อยา
ระหวา่ งเดนิ ผา่ นสวนกลบั บา้ นอกี เตม็ ตะกรา้ ทงั้ พรกิ ขห้ี นู ถว่ั ฝกั ยาว จึงขายแพงกว่าเกษตรเคมี จนเม่ือได้รู้จักกับน้าเจ๊ียบ หัวหน้าใหญ่
และผกั เชียงดา ของทีมโภชนาการ และได้เข้าร่วมเครือข่ายอาหารปลอดภัยกับ
โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห ์ ระบบเกอื้ กลู ระหวา่ งเครอื ขา่ ย
ป้าหมูและลุงพงเป็นเกษตรกรสมาชิกเครือข่ายอาหาร กับโรงพยาบาลก็ช่วยให้เกษตรกรสามารถวางแผนและบริหาร
ปลอดภัย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ท้ังคู่ปรับเปลี่ยน การผลติ ของตนได้ดียิ่งขน้ึ
รูปแบบเกษตรจากเคมีมาเป็นอินทรีย์มานานกว่า ๑๐ ปี ก่อนหน้า
ท่จี ะเขา้ ร่วมโครงการกับโรงพยาบาลดว้ ยซำ้� นอกเหนอื จากทง้ั คจู่ ะท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ ฝา่ ยผลติ และสง่ วตั ถดุ บิ
ให้แก่โรงพยาบาลแล้ว ป้าหมูและลุงพงยังอาสาเป็นแกนน�ำชักชวน
“ตงั้ แตเ่ กดิ จนโตลงุ ใชช้ วี ติ มากบั ทอ้ งไรท่ อ้ งนา ชว่ งปดิ เทอม เพ่ือนเกษตรกรในชุมชนให้ท�ำเกษตรโดยไม่พึ่งสารเคมี จากการ
กช็ ว่ ยพอ่ เลยี้ งควายอยเู่ ปน็ ประจำ� ใจมนั กอ็ ยากกลบั มาทำ� เพราะชอบ พสิ จู นด์ ว้ ยการลงมอื ทำ� ใหเ้ หน็ จรงิ จงึ มเี พอื่ นบา้ นเกษตรกรอกี สหี่ า้ ราย
และผกู พนั อยู่ในสายเลอื ด” หนั มาทำ� เกษตรปลอดสารและเขา้ รว่ มเปน็ เครอื ขา่ ยอาหารปลอดภยั
กับโรงพยาบาล แม้เป็นจ�ำนวนไม่มาก แต่ท้ังสามีภรรยาก็ภูมิใจอยู่
จากเดมิ ทลี่ งุ พงเคยเปดิ รา้ นตดิ ตง้ั จานดาวเทยี ม เปน็ เถา้ แก่ ไมน่ ้อย
อยใู่ นเมอื ง แตห่ ลงั จากลกู สาวเขา้ เรยี นมหาวทิ ยาลยั ตนและภรรยา
ก็มีเวลามากข้ึน จึงผันตัวมาเป็นเกษตรกรอยู่ท่ีชุมชนแม่สาด แรก
เรม่ิ นนั้ ยงั คงทำ� เกษตรโดยพง่ึ เคมเี ปน็ หลกั ไมน่ านทงั้ คกู่ พ็ บวา่ กวา่ จะ
ได้ผลไม้สกั ตะกร้าตอ้ งใชส้ ารเคมีมากมายขนาดไหน
“ปา้ หมูภมู ิใจทเี่ ราได้ผลติ ผักปลอดภยั ให้คนไข ้ เหมอื น
“เมื่อก่อนท�ำสวนส้มใช้แต่เคมี ใช้เยอะมาก พอท�ำแล้ว “ป้าหมูภูมิใจที่เราได้ผลิตผักปลอดภัยให้คนไข้ เหมือนได้
ธรรมชาติก็เสีย สุขภาพเราก็แย่ ป้าหมูเองเขาก็มีโรคประจำ� ตัว” ลุง ทำ� บญุ อยตู่ ลอดเวลา แมจ้ ะเปน็ สว่ นนอ้ ยนดิ แตม่ คี วามสขุ อยขู่ า้ งใน
พงเล่าพลางหันไปมองภรรยาที่นั่งอยู่ข้าง ๆ พร้อมย่ืนมือแตะหลัง ลึก ๆ”
เธอเบา ๆ
หญงิ ผมู้ ที า่ ทอี ารกี ลา่ วยำ้� ถงึ ความสขุ ของเธออกี ครง้ั แววตา
ตั้งแต่เมื่อคร้ังยังอาศัยอยู่ในเมือง อาการหอบหืดจากโรค เปน็ ประกายราวกับจะพดู ประโยคเดียวกนั
ประจำ� ตวั ของปา้ หมกู ำ� เรบิ บอ่ ยจนตอ้ งเขา้ โรงพยาบาลไปใหอ้ อกซเิ จน
ทุกอาทิตย์ น่ีเป็นอีกเหตุผลส�ำคัญท่ีท�ำให้ลุงพง สามีของเธอ หันมา แดดเย็นทอแสงต�่ำลง เหล่าไม้ต้นสูงต้นเตี้ยท่ียืนเรียงราย
ท�ำเกษตรแบบปลอดสารเคมี จนปัจจุบันสุขภาพของเธอดีข้ึนจน ค่อย ๆ ทอดเงายาวลงพื้น นกกระจอกฝูงหนึ่งก�ำลังบินกลับรังไป
อาจกลา่ วไดว้ ่าหายขาด พกั ผอ่ นเกบ็ แรงไวส้ ำ� หรบั วนั พรงุ่ น ้ี ผดิ กบั คนทำ� งานทน่ี ่ี ชายเจา้ ของ
สวนลุกข้ึนสวมรองเท้าบูตคู่เดิม กระชับผ้าขาวม้าท่ีคาดเอว ค�่ำนี้
“ต้ังแต่มาอยู่สวนก็ไม่ป่วยอีก ส่วนหน่ึงป้าหมูว่าเป็นเพราะ ลุงพงตั้งใจจะอยู่เคลียร์แปลงผักเพ่ือเตรียมรอบการปลูกใหม่อีก
อากาศดี ได้กินของดี ๆ อีกอย่างพอมาท�ำสวนก็เหมือนได้ออก สกั หนอ่ ย
ก�ำลังกายตลอดเวลา ต้ังแต่ต่ืนก็มีงานให้ท�ำท้ังวันน่ันแหละ ไม่ต้อง
ห่วง” ภรรยาเลา่ บ้าง หลอดฟลอู อเรสเซนตก์ ลางสวนเรอื งแสงขนึ้ งานทน่ี ม่ี ใี หท้ ำ�
ตลอดทงั้ วนั จรงิ ๆ
หญงิ ชุดมว่ งหนั ไปสบตาสาม ี พยักย้ิม แล้วพดู ข้นึ วา่
“ถึงเหนื่อย แต่ก็มีความสุข”
สองสามีภรรยาช่วยกันหว่านเมล็ด รดน้�ำ พรวนดินด้วยใจ
รัก ท�ำให้พืชผักนานาพรรณแตกยอดเติบโตเป็นผลงาม สร้างรายได้
138 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙