Page 115 - SKD-V0402.indd
P. 115

แต่ที่ท�าให้รู้สึกเหมือนสูญเสียศักยภาพในตัวเอง   การมองเห็นบรรทัดอื่นที่พิมพ์ไปแล้ว ถ้าไม่ได้อ่านทวนเรื่อย ๆ
                  อีกครั้งคล้ายกับตอนที่รู้ว่าจะไม่ได้เรียนหนังสือต่อคือการ   อาจยิ่งท�างานยาก
                  รับรู้ว่านิ้วที่เคยควบคุมให้พิมพ์งานได้อย่างยากล�าบากนั้น  “แพรวใช้มือถือคุ้มมาก เปลี่ยนสามสี่เครื่องแล้ว ใช้จน
                  ใช้การไม่ได้อีกต่อไป และเป็นช่วงเวลาที่ทุกส�านักพิมพ์ซึ่ง  แบตฯ เสื่อม วันหนึ่งต้องใช้สลับกันสองเครื่อง พอเครื่อง
                  เคยส่งต้นฉบับไปให้พิจารณาทยอยติดต่อกลับมาไล่ ๆ กัน  แพรวแบตฯ หมดก็ชาร์จไว้แล้วยืมของแม่ ใครมาเห็นท่าทาง
                      “แม่ต้องโทร.บอก บก. ว่าขอแก้หลังออกจากโรง  ตอนท�างานอาจมองว่าล�าบาก แต่นี่เป็นวิธีถนัดที่สุดและชิน
                  พยาบาล แพรวกลับบ้านด้วยความรู้สึกแย่มากที่เราถ่วง   แล้ว แพรวพิมพ์งานต่อเนื่องได้นานหลายชั่วโมง เวลาจ้อง
                  คนอื่น ไม่สามารถแก้งาน แต่ก็ไม่อยากปฏิเสธโอกาสที่   หน้าจอนานจนน�้าตาไหลแม่จะคอยเช็ดให้ แพรวจะเซฟงาน
                  รอคอย ใช้เวลา ๒-๓ เดือนกว่าร่างกายจะฟื้นจนดีขึ้น    ไว้เรื่อย ๆ พอเขียนได้สักหน้าสองหน้าก็ส่งเข้าอีเมลตัวเอง”
                  ทางส�านักพิมพ์ก็เข้าใจบอกให้พักก่อน ตอนนั้นยังไม่กล้า  ระหว่างสนทนาบางคราวเธอเงียบไปนานชวนให้สงสัย
                  บอกว่าเราพิมพ์ไม่ได้ด้วย พยายามหาทางแก้ ตอนแรก   ว่าไม่ได้ยินหรือเปล่า ต่อเมื่อเข้าไปมองหน้าจอโทรศัพท์
                  ใช้วิธีบอกต�าแหน่งให้แม่ช่วยพิมพ์ แต่มันไม่เวิร์ก แม่ชอบ  ระยะใกล้มากจึงได้เห็นว่าเจ้าตัวก�าลังใช้สมาธิคิด-เขียน
                  ช่วยแก้ค�าให้สละสลวย แต่แพรวไม่ต้องการแบบนั้น เรารู้ว่า  นิยายไปพร้อมกัน
                  ท้ายที่สุดอาจไม่ได้ใช้ค�าแบบนั้นหรอก ถ้าเปลี่ยนใจค่อย   แม่ช่วยไขความกระจ่างว่าลูกสาวเคร่งครัดกับเวลา
                  ย้อนกลับไปแก้ แต่เวลาท�างานต้องใช้สมาธิต่อเนื่อง ช่วงที่  ท�างานมาก หลังตื่นนอน ๘ โมงเช้า แม่จะท�าอาหารให้ พอ
                  คิดอะไรได้ก็อยากให้คงไว้แบบนั้น                            เธอท�ากิจวัตรส่วนตัวเสร็จจะนอนพัก
                  เวลาท�างานจึงทะเลาะกับแม่บ่อย”                             ครึ่งชั่วโมงและตื่นตอน ๑๐ นาฬิกา
                      เมื่อลูกสาวพักเสียง ขอให้แม่                           ดื่มกาแฟที่แม่ชงแล้วเริ่มท�างานบน
                  ช่วยป้อนน�้าดื่มผ่านหลอด แม่จึงฉวย                         เตียงจนบ่าย ๓ จากนั้นให้แม่พยุง
                  โอกาสอธิบายเหตุผลว่าเป็นเพราะ                              ขึ้นรถเข็นออกมาตรวจต้นฉบับที่เพิ่ง
                  หวังดี ซึ่งต่อมาเธอจ�ายอมรับในกติกา                        พิมพ์เสร็จผ่านคอมพิวเตอร์ที่โต๊ะ
                  ของลูกว่าไม่ให้ใส่แว่นสายตาขณะ                             ท�างานในห้องกลางบ้าน โดยให้แม่อยู่   113
                  ช่วยงาน จะได้ตรวจต้นฉบับไม่ถนัด                            ข้าง ๆ เพราะนิ้วมือเธอไม่มีแรงพอ
                      ผ่านไปหลายเดือนเด็กสาวจึง                              ส�าหรับพิมพ์แป้น
                  หาทางออกได้ว่าบนโทรศัพท์มือถือ                                 หน้าที่ช่วยแก้งานของแม่คือ
                  มีโปรแกรม Note                                             คอยเลื่อนเมาส์ทีละบรรทัด ขยับซ้าย-
                      เธอเริ่มออกแบบวิธีเขียนหนังสือ                         ขวาไปบนคีย์บอร์ดที่แสดงแป้นค้าง
                  ที่ไม่เหมือนใคร โดยนอนราบบนเตียง                           ไว้บนจอ เมื่อแม่เลื่อนเมาส์ถึงแป้นที่
                  วางโทรศัพท์ไว้เกือบชิดใบหน้าฝั่งซ้าย                       ต้องการลูกจะส่งสัญญาณอย่างรู้กัน
                  แล้วตะแคงหน้าไปหา วางแขนขวา                                ด้วยเสียง “อื้ม” ในล�าคอ
                  บนหน้ากากออกซิเจนพาดข้อมือมา                                   เป็นเช่นนั้นจนแพรว-เพทายมี
                  ทางโทรศัพท์ ใช้กล้ามเนื้อคอจากการ                          ผลงานหนังสือนิยายจ�านวน ๑๗ เล่ม
                  หันหน้าช่วยบังคับนิ้วชี้ข้อแรกซึ่งเป็น                     อย่าง ฟ้าหลงจันทร์ ตะวันข้างแรม
                  กระดูกสัมผัสแป้นอักษรบนหน้าจอโทรศัพท์ทีละตัว  แรกพบบรรจบรัก น�้าค้างเปื้อนสี ฯลฯ ภายใต้นามปากกา
                      ฐานะคนเขียนหนังสือเหมือนกัน เข้าใจว่าเวลาความคิด   “ภาพิมล” บางครั้งใช้ “พิมลภา”
                  พรั่งพรูแต่ ๑๐ นิ้วไม่ไวทันใจคิดน่าหงุดหงิดอย่างไร แต่มี  เกือบทั้งหมดของงานเขียนมักโดดเด่นที่เรื่องราวสุข-
                  เพียงเธอที่รู้ว่าการบันทึกความคิดที่ก�าลังลื่นไหลได้ด้วย   ทุกข์แห่งชีวิต
                  ข้อนิ้วเดียวและจ�าเป็นต้องข้ามผ่านอุปสรรคทางร่างกาย  “แพรวไม่เชื่อเรื่องความสมบูรณ์แบบ อารมณ์ที่บีบคั้น
                  อย่างมีจังหวะต้องใช้สมาธิและความอดทนเพียงใด  จะสะท้อนความบกพร่องที่เป็นปรกติของชีวิต”
                      ยิ่งไปกว่านั้นลูกตากับหน้าจอในระยะที่ท�าให้คน  เพราะเอาเข้าจริงคงไม่มีสิ่งใดในโลกที่สมบูรณ์หรือ
                  สายตาปรกติอาจตาเหล่ได้ก็ชวนเวียนหัวเหลือเกิน  บกพร่อง
                      และอักษรที่เจ้าตัวยืนยันว่าพิมพ์ด้วยขนาด ๑๔ นั้น   มีแต่ความคิดของตนเองที่ท�าให้เกิดความบกพร่อง-
                  เมื่ออยู่บนจอกรอบเล็กก็ดูคล้ายมดด�าเล็ก ๆ รวมฝูงเกินกว่า  สมบูรณ์
                  จะอ่านถนัด  เธอเลือกที่จะไม่ขยายหน้าจอเนื่องจากไปลด




                                                                                              สิงหาคม ๒๕๖๑
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120