Page 116 - SKD-V0402.indd
P. 116

กุหลาบ                           ในชีวิตเพทายอยู่ที่การเล่าถึงสภาพสังคมของประเทศ
                                                                  ความโดดเด่นของผลงานเล่มล่าสุดซึ่งเป็นล�าดับที่ ๑๘
                           อวดดอก                             อัฟกานิสถานเมื่อ ๓๐ กว่าปีที่แล้ว ครั้งที่กรุงคาบูลยังเป็น

                                                              แผ่นดินงดงาม ดอกกุหลาบบานสะพรั่งเคล้าเสียงบทกวี
                                                              ทว่าวันหนึ่งเมื่อประเทศนี้ตกอยู่ท่ามกลางฝุ่นควันแห่ง
                                                              สงคราม การเมือง และความขัดแย้ง ท�าให้ผู้คนไม่เหมือน
                                                              เดิม แต่การมีชีวิตอยู่ด้วยความรักที่ถูกทับถมใต้ฝุ่นแห่ง
                                                              ความสูญเสียกลับเป็นความงดงามยิ่งกว่า วิธีฉายภาพความ
                                                              งามแห่งความจริงในอีกรูปแบบของนวนิยายคือสิ่งที่ท�าให้
                บนถนนชีวิตที่ขับเคลื่อนด้วยรถเข็นขนำดพอดีร่ำงเจ้ำของ   ผลงานนี้ชนะใจกรรมการ
                ร่วม ๒๐ ปี                                        “แพรวชอบอ่านนิยายของ ‘โสภาค สุวรรณ’ ที่มีฉาก
                    แพรว-เพทายคือรูปธรรมของค�าจ�ากัดความ ค่าของคน   ต่างประเทศ การเมือง การแย่งชิง เนื้อหาหนักด้วยสาระ
                อยู่ที่ผลของงาน                               และชอบดูหนังสารคดีสงครามด้วย แต่สิ่งส�าคัญคือแพรว
                    ยิ่งชัดแจ้งเมื่อต้นฉบับนวนิยาย ใต้ฝุ่น ภายใต้นามปากกา   บังเอิญได้เห็นภาพบ้านเมืองอันสวยงามของประเทศ
                 “โกลำบ จัน” คว้ารางวัลชนะเลิศจากต้นฉบับทั้งหมด    อัฟกานิสถานในอดีต สมัยที่เรายังไม่เกิด แต่มาถึงยุคนี้เรา
                        ๗๒๑ เรื่อง ในโครงการ ARC Award ปี ๒๕๖๐ ซึ่ง   กลับรู้จักบ้านเมืองเขาแต่ในแง่ลบอย่างซากปรักหักพังหรือ
                            ปรับรูปแบบมาจากนายอินทร์อะวอร์ด โดย  ตอลิบาน เคยอ่านกระทู้ตามอินเทอร์เน็ตเจอคนที่ด่าว่าชาว
                                เปิดรับต้นฉบับทุกประเภทและตัดสิน  มุสลิมหรือแสดงท่าทีเหยียดศาสนาหรือชาติพันธุ์ เรารู้สึก
                                  โดยไม่มีการแบ่งประเภทงาน    ไม่ชอบ โมโหแทน”
   114
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121