Page 117 - SKD-V0402.indd
P. 117
ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะเธอเชื่อมโยงกับประสบการณ์ ยิ่งได้อ่านเรื่องราวเกี่ยวกับอัฟกานิสถานมากขึ้นก็
ชีวิตของตัวเอง เปิดโลกให้เธอเห็นด้านดี
“ตอนเด็ก ๆ แม่ชอบเปรียบเทียบว่าแพรวเป็นอย่างนี้ “ได้รู้จักประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาที่ประเทศยังสงบสุข
ก็ยังดีกว่าคนที่เขาตาบอดนะ แพรวเดินไม่ได้แต่ยังมองเห็น ท�าให้รู้ที่มาที่ไปของผู้คน บ้านเมืองเขาสวยงาม รุ่มรวย
แม่พูดเพราะอยากให้ก�าลังใจ แต่แพรวไม่ชอบเลย ถ้าคน ศิลปวัฒนธรรมขั้นสูง มีความโรแมนติกหลายอย่าง แพรว
ตาบอดได้ยินเขาก็คงเสียใจ จะพิการอะไรก็ไม่ดีทั้งนั้น แค่ ชอบการเต้นร�า ชอบที่ผู้ชายมีความสามารถทางบทกวี มี
ไม่ดีต่างกันไปคนละด้าน เหมือนเวลาที่อ่านเจอใครตั้งกระทู้ รสนิยมในการเหน็บดอกกุหลาบหรือดอกไม้ต่าง ๆ ไว้บน
ว่าเป็นเอดส์ดีกว่าเป็นมะเร็ง ซึ่งมันไม่ใช่ ถ้าคนที่เป็นมะเร็ง หมวก บางคนหน้าตาดุแต่เหน็บดอกไม้มีสีสันไว้บนหมวก
มาอ่านเจอเขาก็คงจะเสียใจ ความจริงแพรวเป็นคนที่ห่าง แล้วดูน่ารักมากเลย ไม่ใช่พวกบ้านป่าเมืองเถื่อนไปเสีย
ไกลเรื่องธรรมะมาก จะไปวัดก็ต่อเมื่ออยากดูสถาปัตยกรรม ทุกคน ในงานเขียนแพรวไม่ได้ใช้ข้อมูลลึกเลย เป็นเรื่อง
แพรวเชื่อในหลักพระธรรมนะ เชื่อว่าสวรรค์อยู่ในอกนรก ทั่วไปนี่ละ แต่คนส่วนใหญ่ไม่ได้สนใจเลยไม่รู้”
อยู่ในใจ แต่ไม่ได้ให้ความส�าคัญกับการกราบไหว้และไม่เชื่อ แม้ตระหนักว่าคงยากที่เรื่องนอกกระแสจะได้การ
เรื่องผลแห่งกรรมจากชาติไหนหรือกรรมที่ส่งต่อจากใคร ยอมรับจากคนอ่าน แต่เมื่อตกหลุมรักประเทศที่อยู่ในภาวะ
ตอนเด็ก ๆ มีคนพูดเยอะว่าแพรวเป็นโรคกรรม ฟังไม่เข้าท่า สงครามนี้เข้าแล้วเธอก็มุ่งมั่นจะเขียน ค้นคว้าข้อมูลจาก
เลย แพรวจึงไม่ชอบค�าว่ากรรม ไม่ชอบเข้าวัดไหว้พระตั้งแต่ อินเทอร์เน็ตเป็นพื้นฐาน ไล่อ่านข่าวและบทความต่าง ๆ
นั้น พอโตขึ้นได้ท�าความเข้าใจค�าว่ากรรมใหม่ว่าหมายถึง รวมถึงเก็บข้อมูลจากการพูดคุยกับชาวอัฟกานิสถานผ่าน
ผลของการกระท�า แต่ยังคงไม่เชื่อเรื่องท�ากรรมชาติที่แล้ว ทางอินสตาแกรม
ถึงเป็นอย่างนี้ในชาตินี้ พานท�าให้แพรวไม่ชอบการวิพากษ์ ครั้นต้นฉบับสมบูรณ์เธอส่งให้รุ่นพี่ที่ท�างานอยู่องค์การ
สังคมมนุษย์” สหประชาชาติตรวจสอบเนื้อหา-ชื่อองค์กรหลายแห่งใน
ต่างประเทศ กลายเป็นว่าผู้อ่านมองเห็นคุณค่าและผลักดัน 115
ให้ผู้เขียนส่งประกวด
โครงการ ARC Award ปี ๒๕๖๐ จึงได้ต้อนรับนวนิยาย
ใต้ฝุ่น
“ตั้งใจเปรียบค�าว่าใต้ คือการที่ผู้คนตกอยู่ภายใต้
สงคราม และค�าว่าฝุ่น คือภาวะวุ่นวายโกลาหล”
บังเอิญรับนัยและพ้องเสียงกับค�าว่าไต้ฝุ่น พายุหมุน
เขตร้อนความเร็วลมสูงสุดที่ก่อตัวขึ้นตลอดปี
ที่น่าสนใจกว่านั้นคือนามปากกา “โกลาบ จัน” ซึ่งไม่มี
ใครรู้จักในแวดวงวรรณกรรม
ตอนเด็กๆ แม่ชอบเปรียบเทียบว่ำ
แพรวเป็นอย่ำงนี้ก็ยังดีกว่ำคนที่เขำตำ
บอดนะ แพรวเดินไม่ได้แต่ยังมองเห็น
แม่พูดเพรำะอยำกให้ก�ำลังใจ แต่แพรวไม่
ชอบเลย ถ้ำคนตำบอดได้ยินเขำก็คงเสียใจ
จะพิกำรอะไรก็ไม่ดีทั้งนั้น”
สิงหาคม ๒๕๖๑