หน้าปกสารคดี ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑๙๑ เดือนมกราคม ๒๕๔๔

ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
ทำลูกในสิงคโปร์
ทำลูกในสิงคโปร์
บัลเล่ต์ช้างน้อย
บัลเล่ต์ช้างน้อย
อ่านเอาเรื่อง
ภาพประกอบเพลงชาติ ของคณะอนุกรรมการ เอกลักษณ์ไทย : สร้างเอกภาพ หรือทำลายความ หลากหลาย ?
ต่างประเทศ
ปัญหาปาเลสไตน์ กับอิสราเอล และผลกระทบต่อไทย : ยิว-อาหรับ กับไทย
สิ่งแวดล้อม
สื่อมวลชนกับ การเสนอข่าวภูเขา : บนเส้นทางสู่ "ปีแห่งภูเขา ๒๐๐๒"
ภาษาและวรรณกรรม
ว่าด้วย พจนานุกรม นอกราชบัณฑิตยฯ
เกร็ดข่าว
อินเทอร์เน็ต กับพระสงฆ์
ที่นี่มีอะไร

โลกบันเทิง
คนกับหนังสือ
ความแอ็บเสิร์ด การโกหก และชายอาหรับใน คนนอก
ภาพยนตร์
High Art : ฟาสบินเดอร์ อิส ฟักกิ้ง เดด

โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
โลกวิทยาการ
บรรยากาศศาสตร์
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คริสต์มาส (คลิกดูภาพใหญ่)
คริสต์มาส
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
ปกสมุดเลปาจารย์
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
สยามร่วมสมัย
ปืนใหญ่พญาตานี
เสียงจากอุษาคเนย์
ดูหนังแขก แล้วย้อนดูคนอินเดีย
ข้างครัว
กิน แปลว่า...
สัมภาษณ์
หมวกใบใหม่ ของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ประธานกรรมาธิการ ต่างประเทศ วุฒิสภา
หมวกใบใหม่ ของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ประธานกรรมาธิการ ต่างประเทศ วุฒิสภา
บทความพิเศษ
ส.ค.ส. ฉบับแรก ของสยาม
สารคดีต่างประเทศ
นายพลแม็กอาเทอร์ เฝ้าสมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวง
โลกสถาปัตยกรรม
โฉมหน้าแห่งบายน
ศิลปะ
สองอัจฉริยะ แห่งภาพทิวทัศน์ : Hokusai และ Hiroshige
บันทึกนักเดินทาง
ปาดเขียวตีนลาย ที่ทุ่งใหญ่ฯ
ปาดเขียวตีนลาย ที่ทุ่งใหญ่ฯ์
อุทยานแห่งชาติ
เที่ยวป่าเปลี่ยนสี ที่ภูพาน
เที่ยวป่าเปลี่ยนสี ที่ภูพาน
คิดสร้างต่างสรรค์
แนวคิดสกุล  "หลังอาณานิคม" 
(Postcolonialism)
บทความพิเศษ
ไม่ดีใจ ไม่เสียใจ
ฉบับที่ ๑๙๑ เดือน มกราคม ๒๕๔๔
ภาพประกอบเพลงชาติของคณะกรรมการเอกลักษณ์ไทย : สร้างเอกภาพหรือทำลายความหลากหลาย ?
เ รื่ อ ง จ า ก ป ก

(คลิกดูภาพใหญ่)
ภาพปก : มงคลสวัสดิ์ เหลืองวรพันธ์

เผชิญหน้าหมีกริซลีที่อะแลสกา
   
ภาพปลาแซลมอนกระโดดข้ามเกาะแก่งในธารน้ำไหลเชี่ยว พุ่งเข้าปากกว้าง ๆ ของหมีสีน้ำตาลตัวโต ที่อ้าปากรออยู่บนน้ำตก อาจเป็นภาพที่คุ้นตาจากหน้านิตยสาร หรือรายการสารคดีชีวิตสัตว์ทางเคเบิลทีวี ทว่าที่ที่เดียวในโลก ที่เราจะได้เห็นภาพธรรมชาติเช่นนี้ ด้วยตาตนเองนั้น อยู่ห่างไกลออกไปถึงอะแลสกา ในอาณาเขตอันกว้างใหญ่ของ Katmai National Park ที่มีหนทางเข้าถึงก็โดยเรือ หรือเครื่องบินเท่านั้น
   
Katmai National Park ตั้งอยู่ทางตอนใต้ด้านตะวันตกของอะแลสกา ห่างจากแองเคอเรจ เมืองใหญ่ของอะแลสกา ราว ๒๙๐ ไมล์โดยทางอากาศ ที่นี่นอกจากจะเป็นพื้นที่ที่มีประชากรหมีสีน้ำตาล หรือหมีกริซลีมากที่สุดในอเมริกาเหนือแล้ว ยังเป็นจุดที่ปลาแซลมอนจำนวนมหาศาล จะว่ายทวนน้ำขึ้นมาจากทะเล ผ่านน้ำตกบรู๊กส์ในเขตอุทยานฯ เพื่อไปวางไข่ในทะเลสาบบรู๊กส์
   
ทุกปี นับตั้งแต่ปลายเดือนมิถุนายน ไปจนสิ้นเดือนกรกฎาคม ปลาแซลมอนที่เดินทางไปถึงครึ่งทางที่น้ำตกบรู๊กส์ ไม่เพียงต้องเผชิญกับเกาะแก่งของน้ำตก ที่กั้นขวางลำธารไว้เท่านั้น หากยังต้องผจญกับหมีกริซลีจำนวนมาก ที่มาดักรอจับมันกินเป็นอาหาร เพื่อสะสมไขมันไว้สำหรับฤดูจำศีล ที่กำลังจะมาถึง ธารน้ำตกแห่งนี้ จึงเป็นจุดสำคัญที่เชื่อมโยงวงจรชีวิต ระหว่างหมีกริซลีกับซอกค์อายแซลมอน และเป็นที่เดียวที่เปิดโอกาส ให้นักเดินทางจากทั่วโลก ได้ชื่นชมกับภาพธรรมชาติ และความสัมพันธ์อันน่าทึ่งนี้
ส า ร ค ดี พิ เ ศ ษ
(คลิกดูภาพใหญ่) เผชิญหน้าหมีกริซลีที่อะแลสกา
    ชื่อ Katmai National Park อาจเป็นชื่อที่ไม่คุ้นหูคนทั่วไปนัก แต่สำหรับนักเดินทางที่เคยไปเยือนอะแลสกามาแล้วต่างก็รู้ดีว่า ที่นี่เป็นที่ที่เดียวในโลก ที่เราจะมีโอกาสได้เห็นภาพหมีสีน้ำตาลตัวโต อ้าปากดักรอปลาแซลมอน ที่ว่ายทวนน้ำกระโดดข้ามเกาะแก่ง บริเวณน้ำตกเพื่อขึ้นมาวางไข่ในทะเลสาบ ภาพธรรมชาติอันน่าทึ่งนี้ จะเกิดขึ้นเพียงหนึ่งเดือนในรอบหนึ่งปี โดยมีเพียงสองสัปดาห์เท่านั้น ที่จะมีปลาชุกชุม มงคลสวัสดิ์ เหลืองวรพันธ์ ออกเดินทางไปเยือนอะแลสกาอีกครั้ง และพักแรมอยู่ที่อุทยานฯ เป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์เต็ม เพื่อเก็บภาพ และบันทึกเรื่องราวการเดินป่า ในถิ่นของหมีกริซลีที่น่าตื่นเต้นและประทับใจ มอบเป็นของขวัญพิเศษ แด่ผู้อ่านในโอกาสขึ้นปีใหม่นี้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


(คลิกดูภาพใหญ่) โนราโรงครู
พิธีกรรมผูกสายสัมพันธ์คนใต้

   
ในวัฒนธรรมถิ่นใต้รอบทะเลสาบสงขลา ลูกหลานโนรามีความเชื่อเรื่อง "ครูหมอโนรา" และ "ตายาย" หรือบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว ว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มีฤทธิ์ให้คุณและโทษแก่ลูกหลาน ทั้งยังสามารถติดต่อกับลูกหลานได้ โดยผ่านลูกหลานที่ได้รับเลือกให้เป็นร่างทรง
    ด้วยเหตุนี้ พิธีโนราโรงครู หรือ พิธีโนราลงครู จึงเป็นพิธีกรรมที่สำคัญยิ่ง ในหมู่ลูกหลานโนรา เพราะไม่เพียงเป็นโอกาสให้ลูกหลานโนราในตระกูล ได้กลับมาร่วมไหว้ผีบรรพบุรุษกันอย่างพร้อมหน้า เพื่อขอบคุณตายายที่ช่วยดูแลให้อยู่เย็นเป็นสุขเท่านั้น หากยังจะได้พบปะกับวิญญาณบรรพบุรุษ ที่ล่วงลับไปแล้ว ผ่านร่างทรง โดยมีโนราผู้เชี่ยวชาญทางการร่ายรำ และไสยศาสตร์เป็นผู้ประกอบพิธี โนราโรงครู จึงนับเป็นพิธีกรรมหนึ่งที่เชื่อมต่อโลกปัจจุบัน กับโลกวิญญาณตามความเชื่อ และทำหน้าที่ผูกสายสัมพันธ์ชาวใต้ไว้ได้อย่างแน่นแฟ้น

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


Special Attractions
Cover : Sarakadee  No. 191 January 2001 Cover: "Grabbing a Bite to Eat" - at Katmai National Park in Alaska, within the 2nd and 3rd week of July of every year, Salmon swim upstream to lay their eggs. Whether they survive that ordeal or not depends on the Grizzlies who are waiting in the lurch... for LUNCH!  
Click for Bigger Grizzly Encounters in Alaska

    First rule - never run upon making contact with any one or a group of them. Second - do not carry food on your body, or leave food in your sleeping area, under any circumstances. Third - while on a trail in the woods, remember to constantly generate loud noise. Fourth - stay at least fifty yards away from them, and if it's a mother with her children, make it a hundred yards. Follow these simple safety rules, and join Sarakadee on our travels to Katmai National Park, Alaska, boasting the largest population of 750 grizzly bears in the entire North American continent!

Click Here to Continue Continue: click here


Click to Bigger Nohra Rong Kru: Connecting Past Generations to Present Generations

    A local Southern tradition, the Nohra Rong Kru ceremonies provide an opportunity for families in this generation to honor and contact their ancestors of yesteryear. The mediums used in the ritual are selected in three ways - the ancestors will either appear in their descendants' dreams, communicate who the medium will be through the ramblings of a sick person, or select from the entire family through a ritual, the only frantically shaking member. The selected mediums are then possessed by their own ancestors, who communicate in this way to the rest of the family...

Click Here to Continue Continue: click here


Click to Bigger Ukiyoe Prodigies of the Nature Scenes: Hosukai and Hiroshige

    The Ukiyoe Era of Japanese art history has often been popularly confused to solely represent art works depicting nature scenes. In actuality, the nature scene pictures developed even after the Bijine (last issue of Sarakadee). It thus comes as no surprise then that because the nature scene artworks of the Ukiyoe Era received the most notoriety, and both Katsushika Hokusai and Utagawa/Ando Hiroshige were Ukiyoe prodigies of the nature scenes, they were first ones to be recognized as Ukiyoe artists. In this issue of Sarakadee, we bring you the lives and works of these two incredible talents.


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
เพื่อนหมู ชื่อผลไม้

"เพื่อนหมูฯ"

ซ อ ง คำ ถ า ม
พลเมืองกิตติมศักดิ์
ปล่อยม้าอุปการ
พรรคการเมืองพรรคแรกของไทย
ความเห็นเรื่องฟันธง



ประกาศผล การประกวด บทความ "ทำไมไอน์สไตน์ จึงสมควรได้รับการยกย่อง ให้เป็นบุคคล แห่งศตวรรษที่ ๒๐ ประกาศผล การประกวด บทความ
"ทำไมไอน์สไตน์ จึงสมควรได้รับการยกย่อง ให้เป็นบุคคล แห่งศตวรรษที่ ๒๐