สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๔๔ "๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ วันถล่มอเมริกา"
สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๔๔
นิตยสารสารคดี Feature Magazine
นิตยสารสำหรับครอบครัว
www.sarakadee.com
ISSN 0857-1538
  ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๔๔
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
ยูเอฟโอกับโคลนนิง
แฟชั่นผอมแห้งแรงน้อย
สหรัฐฯ กับการสังหารหมู่ ชาวอินโดนีเซีย ๑ ล้านคน
สหรัฐฯ กับการสังหารหมู่ ชาวอินโดนีเซีย ๑ ล้านคน
อ่านเอาเรื่อง
เลี้ยงกุ้งกุลาดำ ในพื้นที่น้ำจืด กุ้งกู้ชาติ หรือกุ้งสิ้นชาติ ?
สัตว์-พรรณพืช
คลิกดูภาพใหญ่
พบวาฬกินอาหารที่บ่อนอก 
ปรากฏการณ์สำคัญ ของทะเลไทย 
สะกิดตา-สะกิดใจ
เกร็ดข่าว
คลิกดูภาพใหญ่
อุทยานแมลง เฉลิมพระเกียรติฯ
แหล่งศึกษาแมลง ใกล้สูญพันธุ์
สิ่งแวดล้อม
บ้านปลา ธนาคารปู ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง
ต่างประเทศ
เบื้องหลังการเลือกตั้ง สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ 
ในติมอร์ตะวันออก
ธุรกิจ
"เส้นทางสายพลอย" 
จากมาดากัสการ์ ถึงประเทศไทย
คนไทยค้นพบ
คลิกดูภาพใหญ่
ปาดฟ้าตีนแดง
ต่างประเทศ
ชีวิตที่ถูกย่ำยี
ของชาวไทใหญ่ ในรัฐฉาน
ที่นี่มีอะไร
หนังสือบนแผง
โลกบันเทิง
คนกับหนังสือ
คลิกดูภาพใหญ่
ตำนาน "ทางที่ไม่ได้เลือก" ของ โรเบิร์ต ฟรอสต์
ภาพยนตร์
Moulin Rouge 
กังหันแดง แผลงฤทธิ์รัก
โลกธรรมชาติและวิทยาการ
ส่องจักรวาล
ดูฝนดาวตก ยามหน้าหนาว
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกใบละบาท
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
หนังสือบทละครร้อง ของพรานบูรพ์
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน
ฟื้นพิธีแต่งงานแบบมอญ ที่เกาะเกร็ด : 
ผลบวกจากการท่องเที่ยว
บันทึกนักเดินทาง
(คลิกดูภาพใหญ่)
กล้วยไม้งาม ที่โคกนกกระบา
สัมภาษณ์
ศ. ดร. ธงชัย วินิจจะกูล
"ผมเป็นปัญญาชน บนหอคอยงาช้าง"
สยามร่วมสมัย
สะพานหก
ซองคำถาม
ห้องภาพปรินายก
บทความพิเศษ
โรงภาพยนตร์ชั้นสอง อนาจาร พื้นที่พิเศษ ที่ซ่อนเร้น
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
เฮโลสาระพา
เลี้ยงกุ้งกุลาดำในพื้นที่น้ำจืด กุ้งกู้ชาติ หรือกุ้งสิ้นชาติ ?
เรื่องจากปก
๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ วันถล่มอเมริกา
ภาพปก : เอพี
๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ วันถล่มอเมริกา

       "ภาพเครื่องบินโบอิ้ง ๗๖๗ ที่เสียบหายเข้าไปในอาคารเวิลด์เทรดฯ เหมือนเครื่องบินเด็กเล่นถูกขว้างเข้าใส่กองทราย ติดตามด้วยการระเบิดออกด้านข้างอย่างรุนแรงกัมปนาท" จักรภพ เพ็ญแข

       "ถึงตอนนี้ผู้คนต่างหวาดกลัวจนแทบจะเป็นบ้า เสียงกรีดร้องดังระงมอยู่ทั่วทุกแห่ง" วิวัฒน์ เมืองมั่น

       "บัดนี้ตึกแฝดระฟ้าเวิลด์เทรดฯ หายวับไปจากเส้นขอบฟ้าเกาะแมนฮัตตัน เหลือเพียงซากปรักหักพังสุมซ้อนเป็นภูเขาเลากา กลืนกินชีวิตผู้คนจำนวนมหาศาล" กองบรรณาธิการ สารคดี 

       "ผมอยากจะตั้งคำถามว่า อะไรทำให้การก่อการร้ายประสบผลสำเร็จ ไม่ใช่ใครเป็นคนทำให้มันสำเร็จ" ดร. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

       "คนอเมริกันต้องทบทวนตัวเองว่าทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นี้กับพวกเขา" ชัชรินทร์ ไชยวัฒน์

       "ผมไม่เชื่อว่าครั้งนี้เป็นผีมือของ บิน ลาเดน แต่สหรัฐฯ วางเป้าไว้แล้วว่าต้องเป็น บิน ลาเดน และอัฟกานิสถาน" ดร. เทียนชัย วงศ์ชัยสุวรรณ

       "มันจะเป็นสงครามที่ยืดเยื้อยาวนาน" ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุช
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) สามปีกับชีวิตริมสายน้ำลำขาแข้ง

       "ผมทำงานอยู่ในป่าทางตอนใต้ ของลำน้ำขาแข้งกว่าสามปี โดยเริ่มงานในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ จากความตั้งใจครั้งแรก ผมจะบันทึกความเปลี่ยนแปลง ของป่าทุกฤดูกาลในเวลาหนึ่งปี ออกมาเป็นหนังสือภาพเล่มหนึ่ง
       เมื่อผมเริ่มทำงาน ผมพบว่าไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างที่คิด..."
       ปริญญากร วรวรรณ ช่างภาพสัตว์ป่า เกริ่นนำไว้ในสารคดีเรื่องนี้ บรรทัดต่อ ๆ ไป เขาจะพาผู้อ่านไปพบกับบรรยากาศของสายน้ำลำขาแข้ง และเรื่องราวของเหล่าสัตว์ป่า ผ่านสายตาที่มองออกมาจากซุ้มบังไพร ภาพที่ผู้อ่านจะได้เห็นในหน้าหนังสือ เป็นส่วนหนึ่ง ของภาพถ่ายจำนวนกว่าหมื่นภาพ ที่เขาบันทึกไว้ ตลอดสามปีของการทำงาน
       ผืนป่าอันกว้างใหญ่ มอบประสบการณ์หลากหลายให้แก่เขา ทั้งความเงียบเหงา ความตื่นเต้น ความสะเทือนใจ และความเข้าใจในชีวิต
       แน่ละว่า เขาได้ถ่ายทอดเรื่องราวทั้งหมดนั้นไว้แล้ว ในสารคดีพิเศษเรื่องนี้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) ๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ วันถล่มอเมริกา

       ภาพอาคารแฝดเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ที่เคยตระหง่านโดดเด่น บนเกาะแมนฮัตตัน กลางกรุงนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ยุบถล่มราบเป็นหน้ากลอง พร้อมชีวิตผู้คนบนตึกอีกหลายพันชีวิต และภาพความเสียหายของตึกเพนทากอน ศูนย์กลางสำคัญทางการทหารของสหรัฐอเมริกา หลังการก่อวินาศกรรม ไม่เพียงสร้างความสะเทือนขวัญให้แก่ชาวอเมริกัน และผู้คนทั่วโลกที่ร่วมรับรู้ภาพเหตุการณ์ ผ่านเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ หากยังก่อบรรยากาศอึมครึมต่อเนื่องยาวนาน ให้ชาวโลกต้องร่วมเฝ้ามองด้วยใจระทึกว่า อนาคตของโลกนับจากนี้จะเป็นเช่นไร หากยักษ์ใหญ่อย่างสหรัฐฯ จะลุกขึ้นตอบโต้การก่อการร้ายครั้งนี้ 
       ไม่มีใครล่วงรู้ว่า "สงครามครั้งแรกแห่งศตวรรษที่ ๒๑" จะเกิดขึ้นจริงหรือไม่ และโฉมหน้าของมันจะเป็นเช่นไร รวมถึงว่าโลกจะต้องสูญเสียอะไรเพิ่มขึ้นอีกบ้าง หลังจากที่ได้สูญเสียไปแล้ว จากโศกนาฏกรรมครั้งนี้-- สารคดีพิเศษชุดนี้ อาจเป็นเพียงบันทึกหน้าแรก ๆ ของความสูญเสีย ที่โลกจะต้องเผชิญ นับจากนี้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 17 No. 200  October 2001 Cover: On that fateful 11th day in September 2001, terrorists captured the world's rapt attention in a horrific display of carnage. Since then, many have likened images taken on that day to scenes from a horror flick, a work of fiction. Today, we are left with the appall and disbelief of the stark reality... 
Vol. 17 No. 200 October 2001
(Bigger) America under Attack

       September 11th 2001 will go down in history not only as the day America was attacked, but also as the day the entire world lost its innocence. The targets were situated on American soil, and supposedly the terrorists meant to annihilate the very symbol of Western and American domination that they have come to despise. Yet the collapse of the World Trade Center in New York in particular, along with the throngs of foreign nationals, reverberated to a scope that the world is only beginning to come to grips with. The international community is only beginning to understand the sophistication and unbelievable reach of the terrorist network, as well as the ramifications of such a terrorist attack on the security of the entire globe...

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) Three Years in Hua Khakhaeng

       The tiger eases its way closer to me. The sound of the shutter on my camera, although it has been adjusted to emit only the slightest disturbance, still catches the tiger's attention. He stops for what seems an eternity to me, intently focused on ascertaining the origin of the sound, but then sits down, relaxed... My last encounter with a tiger, I was a mere 5 meters away for an extended half an hour from what is commonly perceived as raw fury. Yet in that length of time I was able to capture the most endearing image of the tiger gently playing with a butterfly - I realized then the true nature of tigers in their time of leisure, momentarily stripped of their predatory duties...

Click Here to Continue Continue: click here


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
เพื่อนหมู คณิตคิดสนุก

"หมูอมตะ"

ซ อ ง คำ ถ า ม
ทำไมสิงโตมีแผงขนรอบหน้าและคอ ?
ทำไมจึงเรียกเดือนตุลาคมซึ่งเป็นเดือนที่สิบว่า OCTOBER ทั้งๆ ที่ "OCTO" แปลว่าแปด ?
ว่าแต่เขา ทำไมต้องอิเหนาเป็นเอง
ส ะ กิ ด ต า
ชายผู้เคราะห์ร้ายในเหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙        ชายผู้เคราะห์ร้ายในเหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ คือนายวิชิตชัย อมรกุล นิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้นปีที่ ๒ ที่ถูกฝูงชนผู้บ้าระห่ำรุมทำร้าย ก่อนนำมาแขวนคออย่างหฤโหด ภาพนี้ได้รับรางวัลพูลิตเซอร์ประจำปี ๑๙๗๗
       ถ่ายภาพโดย Neal Ulevich 
ส ะ กิ ด ใ จ
       "ผู้ที่เข้าชนตึกเวิลด์เทรดฯ มิใช่คนขี้ขลาดดังที่ประธานาธิบดีบุชประณาม หากบุชและคนอเมริกันยังไม่เข้าใจความข้อนี้ น่าเป็นห่วงว่าจะแก้ปัญหาผิดพลาดซ้ำแล้วซ้ำอีก แบบอเมริกัน"

       ปราโมทย์ นาครทรรพ
       มติชน ๑๓ กันยายน ๒๕๔๔