Page 109 - Skd 298-2552-12
P. 109
ลองจินตนาการต่อไปว่า ส�ำหรับผลึกรูปแผ่น เส้นโค้ง CZA จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเม่ือดวงอาทิตย์
หนึ่ง ๆ น้ัน แสงอาจมีทางเลือกเข้า-ออกได้หลาย มีมุมเงยสูงจากขอบฟ้าไม่เกิน ๓๒.๓ องศาเท่านั้น
ลักษณะ นั่นคือผลึกรูปแผ่นยังสามารถท�ำให้เกิด เพราะท่ีค่านี้เส้นโค้ง CZA จะอยู่ใกล้จุดจอมฟ้าและ
การทรงกลดไดอ้ ีกหลายรปู แบบ ท่ีควรรจู้ กั ไดแ้ ก่ จางลงจนมองไม่เห็น ท้ังน้ีเราจะเห็นเส้นโค้ง CZA
ได้ชัดเจนเมื่อดวงอาทิตย์มีมุมเงยในช่วง ๑๕-๒๕
เส้นโคง้ เซอรค์ ัมซีนทิ ลั องศา และจะชดั เจนทส่ี ุดท่มี ุมเงย ๒๒ องศา
หากแสงพุ่งเข้าผิวด้านบนแล้วหักเหภายในผลึก แผนภาพแสดงรงั สีของแสง
รูปแผ่นทะลุออกไปทางผิวด้านข้าง ก็จะเกิดการ เทซ่ที อำ� รใ์คหัม้เกฮดิอเไสรน้ซโนั คทง้ ัล
ทรงกลดรปู แบบหนง่ึ ทงี่ ดงามชวนมองอยา่ งยง่ิ เพราะ
จะเกิดเป็นเส้นโค้งสีรุ้งอยู่เหนือดวงอาทิตย์ โดยมี
ส่วนโค้งหงายขึ้น (กลับทิศทางกับรุ้งกินน�้ำ) และ
สแี ดงอย่ดู ้านใกล้ดวงอาทติ ย์
เส้นโค้งนี้มีลักษณะเสมือนหน่ึงเป็นส่วนโค้งของ
วงกลมท่ีอยู่รอบจุดยอดฟ้าหรือจุดจอมฟ้า (zenith)
ซงึ่ เปน็ จดุ เหนอื ศรี ษะ จงึ เรยี กวา่ เสน้ โคง้ เซอรค์ มั ซนี ทิ ลั
(circumzenithal arc) ค�ำว่า circum มีรากศัพท์
เดียวกับ circle ท่ีแปลว่าวงกลม เส้นโค้งน้ีมีช่ือย่อ
คือ CZA โดยบางคนมองว่าเส้นโค้ง CZA น้ีเหมือน
ยิ้มขนาดยกั ษบ์ นทอ้ งฟา้
แผนภาพแสดงรงั สี
เขสอ้นงโแคสง้ งเทซ่ีทอรำ� ค์ใหมั ้เซกนี ิดิทลั
เส้นโค้งเซอรค์ มั ซีนิทลั
เสน้ โคง้ เซอร์คมั ฮอไรซนั ทัล เส้นโคง้
เซอรค์ ัมฮอไรซนั ทัล
หากแสงพงุ่ เขา้ ผวิ ดา้ นขา้ ง แลว้ หกั เหภายในผลกึ
รปู แผน่ ทะลอุ อกไปทางผวิ ดา้ นลา่ ง กจ็ ะเกดิ การทรงกลด
อีกรูปแบบหนึ่งท่ีมีขนาดใหญ่อลังการ กล่าวคือเป็น
แถบสรี งุ้ ทว่ี างตวั อยใู่ นแนวระดบั (ไมโ่ คง้ ) โดยอยใู่ ต้
ดวงอาทิตย์ลงมาราวสองฝ่ามือ (กางมือจนสุด วัด
ระยะจากปลายนิ้วโป้งถึงปลายนิ้วก้อย) เส้นโค้ง
ที่เกิดข้ึนจึงเรียกว่า เส้นโค้งเซอร์คัมฮอไรซันทัล
(circumhorizontal arc) ค�ำว่า horizontal
หมายถงึ อยใู่ นแนวระดบั นนั่ เอง การทรงกลดแบบนี้
จะเกิดได้ก็ต่อเมื่อดวงอาทิตย์ต้องมีมุมเงยอย่างน้อย
๕๘ องศา
ฉบบั ท่ี ๒๙๘ ธนั วาคม ๒๕๕๒ นติ ยสารสารคดี 117