Page 110 - Skd 298-2552-12
P. 110

โลกธรรมชาติและวทิ ยาการ คลน่ื ความคดิ

ปท่ขีราัว้ กโลฏกกใาตรเ้ณมือ่์ทวรันงกทลี่ ๑ด๑                                                                             กระทบผิวหน้าผลึกด้านบนแล้วสะท้อนออกมา ก็จะ
มกราคม ค.ศ. ๑๙๙๙                                                                                                         เห็นเป็นล�ำแสงพุ่งออกจากใต้ดวงอาทิตย์ เรียกว่า
ซ่งึ เกดิ เส้นวงกลมพารฮ์ ีลกิ                                                                                            พลิ ลารด์ า้ นลา่ ง (lower pillar)
อย่างชดั เจน
                                                                                                                            การที่เห็นแสงเป็นล�ำเป็นเพราะผลึกไม่ได้วางตัว
                     วงกลมพาร์ฮลี กิ                                                                                     ในแนวระนาบเท่ากันท้ังหมด แต่อาจเอียงท�ำมุมเล็ก
                                                                                                                         น้อยกับแนวระนาบ  ในทางปฏิบัติเราจะเห็นพิลลาร์
                       ผลึกรปู แผน่ ยงั ทำ� ให้เกิดการทรงกลดอีกรูปแบบ                                                    ด้านบนได้บ่อยกว่าพิลลาร์ด้านล่าง  ข้อมูลจากงาน
                   หนง่ึ ทอ่ี ลงั การอยา่ งยงิ่  คอื  วงกลมพารฮ์ ลี กิ  (parhelic                                        วจิ ยั ของนกั วทิ ยาศาสตรเ์ ยอรมนั ทศ่ี กึ ษาการทรงกลด
                   circle)  เส้นนี้มีลักษณะเป็นวงล้อมรอบฟ้าในแนว                                                         ระบุว่า ในแต่ละปีพิลลาร์ด้านบนสามารถเห็นได้ราว
                   ระดับเดียวกับต�ำแหน่งของดวงอาทิตย ์ โดยพาดผ่าน                                                        ๒๐-๓๐ วนั  สว่ นพิลลาร์ด้านล่างอาจเหน็ ได้ราว ๒-๘
                   ดวงอาทติ ย ์ และจดุ พารฮ์ เี ลยี  (ซนั ดอ็ ก) ทงั้  ๒ จดุ                                             วนั เท่านั้น

                       วงกลมพาร์ฮีลิกจะมีขนาดใหญ่เมื่อดวงอาทิตย์                                                                    พลิ ลาร์ดา้ นบน
                   อยู่ใกล้ขอบฟ้า และมีขนาดเล็กลงเม่ือดวงอาทิตย์อยู่
                   สูงขึ้นเร่ือย ๆ  ในความเป็นจริงอาจจะเห็นไม่เต็มวง
                   เนื่องจากบางบริเวณอาจมีเมฆบังหรือเส้นในบริเวณ
                   น้นั จางเกนิ ไป

                                                                                                                                            พลิ ลาร์ด้านลา่ ง  แทกรงัผา่ที สรน�ำขีทใภหอราง้เงพกกแแิดสลสงดดง
                                                                                                                                                               แบบพิลลาร์

ขเทสีท่อ้นง�ำทแใหาสง้เงกกลดิาักรวษเงคณกลละ่ือมตน่าทง่ี ๆ                                                                 พิลลารด์ า้ นบน
พารฮ์ ลี กิ

                                                             น่าสนใจทีเดียวว่า วงกลมพาร์ฮีลิกอาจเกิดจาก
                                                          เส้นทางเดินของแสงในหลายลักษณะ เช่น แสง
                                                          สะท้อนออกจากผิวด้านข้างของผลึกรูปแผ่นโดยตรง
                                                          หรือแสงหักเหเข้าทางผิวด้านบน สะท้อนผิวด้านข้าง
                                                          ภายใน แล้วหกั เหออกทางผิวดา้ นล่าง เป็นต้น

                                                             พิลลาร์                                                     พลิ ลาร์ดา้ นล่าง

                                                             หากแสงพงุ่ กระทบผวิ หนา้ ผลกึ ดา้ นลา่ งแลว้ สะทอ้ น
                                                          ออกมาเหมือนสะท้อนกระจก ก็จะท�ำให้ผู้สังเกต
                                                          เหน็ แสงพงุ่ ขนึ้ เปน็ ล�ำจากดวงอาทติ ย ์ เรยี กวา่  พลิ ลาร์
                                                          ด้านบน (upper pillar)  ในทางกลับกันหากแสงพุ่ง

118 นติ ยสารสารคดี                                        ฉบับท่ี ๒๙๘ ธันวาคม ๒๕๕๒
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115