Page 171 - Skd 381-2559-11
P. 171

๕๘,๑๑๙ ล�ำ                                                               ครอบครัวได้  หลายคนเร่ิมต่อเรือล�ำใหม่  เร่ิมต้นท�ำตลาดค้าขายเอง
                                                                                ไม่ต้องเป็นลูกจ้างใคร   น่ีต่างหากคือความเช่ือมั่นที่เราว่าคนใน
       จำ� นวนเรือประมงรวมทั้งหมดทีม่ ใี นประเทศไทย                             ประเทศนีท้ �ำได้
             (จากรายงานของกรมประมง)                                             แต่หลายอย่างพัวพันกับปัญหาเชิงอ�ำนาจและความยุติธรรม
                                                                                ในสังคม
       ๑๓,๒๖๓ ลำ�
                                                                                     เหมือนเราพูดเร่ืองปัญหาภูเขาหัวโล้น  การบุกรุกพื้นท่ีป่า
               เปน็ เรอื ประมงขนาดใหญ่                                          เปล่ียนเป็นไร่ข้าวโพด   แต่เราไม่พูดเรื่องปัญหาการถือครองท่ีดิน
             หรือ  “เรือประมงมีเคร่ืองในเรือ”                                   ของคนคนเดียวถึง  ๖  แสนไร่  แล้วจะมีความหมายอะไร   ไม่ว่า
                                                                                นโยบายทวงคืนผืนป่า  ไล่คนออกจากป่าลงมา   ถามว่าจะให้เขาไป
               คดิ เป็น ๒๒.๘ เปอร์เซน็ ต์                                       อยู่ไหน  ในเมื่อคุณยอมให้คนคนเดียวมี  ๖  แสนไร่  นักการเมือง
                                                                                ข้าราชการมีคนละหม่ืน ๆ  ไร่   แล้วคุณจะเอาชาวบ้านไปไว้ท่ีไหน
	 ๔๒,๒๑๗ ล�ำ                                                                    การแกป้ ญั หาเขาหวั โลน้ ไมใ่ ชแ่ คไ่ ลค่ นลงจากปา่  ชาวเขามปี จั จยั การ
                เปน็ เรือประมงขนาดเลก็                                          ผลิตคือที่ดิน  เมื่อคุณไม่มีระบบภาษีท่ีก้าวหน้า  ไม่คิดจัดการเรื่อง
            แบบ “เรอื ประมงมีเครอื่ งนอกเรือ”                                   ถือครองท่ีดิน  ไม่จัดการให้ครบวงจร  ก็เลยมีคนถือครองท่ีดินเป็น
        ๒,๖๓๔ ลำ�                                                               แสน ๆ  ไร่   ถามว่าทุ่งนาแถวสุพรรณบุรีเป็นของคุณบรรหารเท่าไร
                เป็นเรอื ประมงขนาดเล็ก                                          แล้วคุณบรรหารทำ� นาที่ไหน ต้องให้ชาวนาทำ� ใช่หรือไม ่  ถ้าจัดการ
              แบบ “เรอื ประมงไม่มเี คร่อื ง”                                    ได ้ การเอาคนลงจากปา่ ถึงจะชอบธรรม
        ๙๐ เปอร์เซ็นต์
            ของปริมาณสตั ว์น�้ำท่จี ับไดท้ ้งั หมด                                   ที่เราสนใจเร่ืองข้าวโพด  เพราะสุดท้ายข้าวโพดก็เป็นอาหาร
              จบั โดยเรือประมงขนาดใหญ่                                          สัตว์เหมือนปลาป่น   เพ่ือนผมท่ีท�ำมูลนิธิพัฒนาชนบทบอกว่าการ
               (ท่ีมา : http://www.thai-frozen.or.th/news_118.php)              ปลูกข้าวโพดเพื่อพาณิชย์ท�ำให้ภูเขาหัวโล้น  ท�ำลายป่า   กลุ่มทุน
                                                                                เป็นกลุ่มเดียวกัน  แต่ปัญหาคือคนในสังคมไม่รู้  เพิ่งจะเห็นชัดปี
   ปริมาณการสง่ ออกสนิ ค้าประมงไทยไปสหภาพยโุ รป                                 สองปีนี้  เพราะมีเฟซบุ๊ก  มีสื่อออนไลน์   คนเห็นภาพเขาหัวโล้นแบบ
    ข้อมูลจากส�ำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.)                                  จะจะ ทั้ง ๆ ท่ีมันคงจะโลน้ มานานแลว้ แต่ไม่มคี นพูดถงึ   เมือ่ ตน้ ตอ
                                                                                ของปญั หามาจากกลมุ่ เดยี วกนั กต็ อ้ งผนกึ กำ� ลงั กนั หยดุ ยง้ั ใหไ้ ด ้  แต่
         ๒๕๕๗                                                                   การหยุดเร่ืองข้าวโพดยากกว่าประมง  เพราะไปสัมพันธ์กับปัจจัย
                                                                                การผลิต  คือที่ดินของชาวบ้านต่างกับทะเลท่ีไม่มีเจ้าของ  คนอยู่
     ปรมิ าณ ๑๔๘,๙๙๕ ตนั  มลู คา่  ๒๖,๒๙๒ ลา้ นบาท                              นครศรีธรรมราชไปออกทะเลที่สงขลาไม่มีใครว่าอะไร  แต่จะให้คน
                                                                                ปลูกข้าวโพดไปอยู่ไหน   การฟื้นเขาหัวโล้นให้กลับมาเขียวก็ไม่รู้ว่า
         ๒๕๕๖                                                                   ๓  ปี  ๖  ปี  ต้นไม้จะขึ้นมาแค่ไหน   นี่คือความยุ่งยากระหว่างการ
                                                                                ฟื้นป่ากับฟื้นทะเลที่ต่างกัน   ถ้ารัฐไม่แก้ปัญหาให้ครบวงจร  ไม่แก้
     ปริมาณ ๑๗๖,๙๓๙ ตนั  มูลค่า ๓๑,๐๗๒ ลา้ นบาท                                 เรื่องการจัดสรรปันท่ีส�ำหรับเกษตรกร  ตราบใดท่ียังมีคนถือโฉนด
                                                                                ในมือเปน็ แสนเปน็ หมน่ื ไรก่ ็คงยาก
         ๒๕๕๕                                                                   หากหยดุ ประมงทำ� ลายล้างไดส้ ำ� เรจ็  ทะเลไทยจะใช้เวลาฟนื้ ตัว
                                                                                นานแคไ่ หน
     ปรมิ าณ ๑๘๙,๙๐๔ ตัน มลู คา่  ๓๓,๗๘๒ ลา้ นบาท
                                                                                     ให้อย่างต่�ำ  ๖  เดือน  เพราะพันธุ์สัตว์น้�ำบางชนิดใช้เวลา
   (ทม่ี า : http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/Ocean/yellow-card/)  ๔  เดือนถึงจะโต  อย่างปลาทูออกจากไข่  ๔  เดือนก็กลายเป็นปลาทู
                                                                                หนกั  ๑๓ ตวั ตอ่ กโิ ลกรมั   แตถ่ า้ เปน็ ปลาเกา๋  ปลากะพง กวา่ จะหนกั
                                                                                ๑  กิโลกรัมต้องใช้เวลาถึง  ๑  ปี   อย่างปูม้ากับปลาทูโตเร็วแค่  ๖
                                                                                เดอื น มนั ขนึ้ กบั พนั ธส์ุ ตั วน์ ำ้�   ถามวา่ กเี่ ดอื นฟน้ื กแ็ ลว้ แตพ่ นั ธส์ุ ตั วน์ ้�ำ
                                                                                ชนิดไหน   แต่ตามหลักวิชาการสัตว์น�้ำหลายชนิดที่เรามีอยู่  ภายใน
                                                                                ๖ เดอื นจะฟน้ื  นเ่ี ปน็ เรอื่ งจรงิ   อยา่ งแถวอา่ วบางพฒั น ์ จงั หวดั พงั งา
                                                                                ชาวบ้านรวมกลุ่มกันไล่เรืออวนลาก  อวนรุนออกไป  แผล็บเดียวกุ้ง

                                                                                พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙                                                                                  169
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176