Page 174 - Skd 381-2559-11
P. 174

 ASEAN Culture   “ พสิ ษิ ฏ ์ นาส ี  นักศกึ ษาปริญญาเอก คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

“ใหมส่ งุ ขา้ ครสู อน” เสยี งนกั เรยี นกลา่ วสวสั ดคี รเู ปน็ ภาษาไทใหญด่ งั ลอดออกจากหอ้ งเรยี น
บนอาคารโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นบวกครกนอ้ ย สาขาวดั ปา่ เปา้  กลางเมอื งเชยี งใหม ่ เปน็ สญั ญาณวา่
หอ้ งเรยี นภาษาไทใหญก่ ำ� ลงั เรม่ิ ตน้ ขน้ึ  

“ปา๋ งสอนลกิ ไต”

 ลมหายใจวฒั นธรรมไทใหญใ่ นเมอื งไทย

เพยี งแตห่ อ้ งเรยี นนส้ี อนวนั เดยี วคอื ทกุ วนั อาทติ ย ์ เวลา ๑๘.๐๐-              คนไทใหญ่จ�ำนวนมากก็ยังไม่สามารถอ่านหรือเขียนภาษาไทใหญ่ได ้
๒๐.๐๐  น.  เท่าน้ัน  และนักเรียนท้ังหมดเป็นชาวไทใหญ่ที่ต้องการ                       อยา่ งไรกต็ ามในไทยยงั พอมพี นื้ ทใ่ี หภ้ าษาไทใหญจ่ งึ มกี ารกอ่ ตงั้ โรงเรยี น
เรียนรูภ้ าษาและวฒั นธรรมไทใหญ่                                                      แหง่ น้ีขนึ้

      “ใหมส่ งุ ขา้  เปน็ ภาษาไทใหญแ่ ปลวา่  สวสั ด ี  ใหมส่ งุ ขา้ ครสู อน                ปัจจุบันโรงเรียนจัดสอนภาษาโดยแบ่งเป็นสี่กลุ่ม  มีครูประจ�ำ
แปลวา่  สวสั ดคี ณุ คร ู เปน็ คำ� ทกั ทายครกู อ่ นเรมิ่ ชน้ั เรยี นเหมอื นโรงเรยี น  กลุ่มละคน ประกอบด้วยครูจันทร์หอม ครูจอมแลง ครูซอเลก็  และครู
ทั่วไปในเมืองไทยค่ะ”  ครูจันทร์หอม  (จ๋ามหอม)  ครูผู้สอนภาษา                         ออมเงิน  ท้ังหมดเป็นอาสาสมัครไทใหญ่    โรงเรียนไม่เก็บค่าเล่าเรียน
ไทใหญร่ นุ่ บกุ เบิกของท่ีนเี่ ล่าให้ฟงั                                             หรอื ขอรับบริจาคแม้แต่บาทเดยี วและไม่มีคา่ ตอบแทนให้ผู้สอนดว้ ย

      “ป๋างสอนลิกไต”  โรงเรียนสอนภาษาไทใหญ่วันอาทิตย์ก่อตั้ง                               ครจู นั ทรห์ อมบอกวา่ มคี นไทใหญก่ ระจายอยทู่ วั่ ไปในภาคเหนอื
ในป ี ๒๕๕๒ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากหลายหนว่ ยงาน เชน่  กลมุ่  Shan                   เรียกตัวเองว่า  “ไต”  แต่คนไทยรู้จักในช่ือ  “ไทใหญ่”  และจังหวัด
Radio  and  Media  เพ่ือสอนภาษาและวัฒนธรรมไทใหญ่ให้พ่ีน้อง                           เชียงใหม่น่าจะมีคนไทใหญ่มากท่ีสุด    นักเรียนส่วนใหญ่ของที่น่ีเป็น
แรงงานและลูกหลานที่อยู่ในเชียงใหม่และพื้นที่ใกล้เคียง  เน่ืองจาก                     แรงงานรับจ้างมีรายได้ไม่มาก  และอีกส่วนเป็นลูกหลานของแรงงาน
ในอดีตภาษาไทใหญ่ไม่ได้รับอนุญาตให้สอนในโรงเรียนรัฐบาลในรัฐ                           ด้วยกัน  โรงเรียนจึงไม่ได้เรียกร้องเงินทอง  “ผู้ปกครองไว้วางใจน�ำ
ฉาน ประเทศเมียนมา                                                                    ลูกหลานมาฝากเรียน  เราก็พยายามท�ำให้ที่นี่เหมือนบ้านแห่งที่  ๒ 
                                                                                     นอกจากภาษาเรายังสอนทกั ษะการใช้ชวี ิตด้วย”
      แม้ว่าในทางปฏิบัติจะมีการลักลอบจัดการเรียนการสอน  แต่

172 พฤศจิกายน ๒๕๕๙
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179