หน้าปกสารคดี ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑๘๙ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๓

ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
ถ้ำมองถูกกฎหมาย
ถ้ำมองถูกกฎหมาย
คลินิกชะลอความแก่
คลินิกชะลอความแก่ 
อ่านเอาเรื่อง
แบบเรียน ๑๔ ตุลา ๑๖ (ฉบับกระทรวงศึกษาธิการ) สืบทอดหรือทำลาย จิตวิญญาณเดือนตุลา ?
สัตว์-พรรณพืช
นกอ้ายงั่วที่สระแก้วและข้อเสนอแนะบางประการ
นกอ้ายงั่วที่สระแก้ว และข้อเสนอแนะ บางประการ
ศาสนา
การกลับมาของการ "ยึดศาสนาเป็นที่พึ่ง" ในภูมิภาคเอเชีย
การกลับมาของการ "ยึดศาสนาเป็นที่พึ่ง" ในภูมิภาคเอเชีย
วิชาการ
"ผูกเกลอ" งานวิจัยร้อนชิ้นใหม่ เพื่อความเข้าใจคนปักษ์ใต้
การสำรวจ
(คลิกดูภาพใหญ่)
ฟอสซิลแพนด้า ในประเทศไทย
สิ่งแวดล้อม
รีไซเคิลขยะโฟม สิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ในประเทศไทย
รีไซเคิลขยะโฟม สิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ในประเทศไทย
ที่นี่มีอะไร

โลกบันเทิง
คนกับหนังสือ
วอลแตร์ เจ้าของปากกา ที่คมกว่าอาวุธ
วอลแตร์ เจ้าของปากกา ที่คมกว่าอาวุธ

โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
โลกวิทยาการ
๕๐ ปี ของเทคโนโลยี คาร์บอน-๑๔ ไขปรัศนีอายุ 
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
โลกรายเดือน
เชิญดอกไม้
ฟอร์เก็ตมีนอต (เชิญดอกไม้)
ฟอร์เก็ตมีนอต
จากบรรณาธิการ
บ้านพิพิธภัณฑ์
บ้านบุณยัษฐิติที่จันทบุรี 
สารคดีบันทึก
(คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
ซิดนีย์ ๒๐๐๐ สีสันและสมรภูมิ
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
บทความพิเศษ
แด่ไขแสง สุกใส
สยามร่วมสมัย
หอกลองสวนเจ้าเชต
เสียงจากอุษาคเนย์
เรื่อง "ต้องห้าม" และ "ห้ามเข้า" ในอุษาคเนย์
เรื่อง "ต้องห้าม" และ "ห้ามเข้า" ในอุษาคเนย์
ข้างครัว
นี่คือเหล้า มาเรามารำร้อง
สัมภาษณ์
(คลิกดูภาพใหญ่)
ฟิลิป ดี. ราวด์ ฝรั่งรักนก
สารคดีท่องเที่ยว
(คลิกดูภาพใหญ่)
เตร็ดเตร่มาเลเซีย
ศิลปะ
(คลิกดูภาพใหญ่)
อุกิโยะเอะ : ภาพแห่งโลกที่ล่องลอย
บันทึกนักเดินทาง
(คลิกดูภาพใหญ่)
เรื่องธรรมดา ของเขียดตะปาดกับงู 
ฉบับที่ ๑๘๙ เดือน พฤษจิกายน ๒๕๔๓
ร่วมแสดงความคิดเห็น เรื่อง แบบเรียน ๑๔ ตุลา ๑๖ (ฉบับกระทรวงศึกษาธิการ) สืบทอดหรือทำลายจิตวิญญาณเดือนตุลา
เ รื่ อ ง จ า ก ป ก
(คลิกดูภาพใหญ่)
ภาพปก : ชัยชนะ จารุวรรณากร
หัวเชือกวัวชน สัมพันธ์หลากหลายในสายเชือก
   
วัฒนธรรมการชนวัวทางปักษ์ใต้ คงเริ่มจากการเลือกเอาโคถึกอายุ ๓-๔ ปี ในฝูงที่ใช้งานในไร่นา มาชนกันสนุก ๆ หลังฤดูเก็บเกี่ยว พร้อมกับคัดตัวพ่อพันธุ์ที่มีกำลังชั้นเชิงการต่อสู้ และมีน้ำใจอดทน แปรเปลี่ยนเป็นกีฬาพื้นบ้าน ที่มีการพนันสอดแทรก จนกระทั่งการชนวัว ถูกใช้ไปในเชิงธุรกิจการพนัน และการอาชีพมากขึ้นในปัจจุบัน
    * ขณะเดียวกันการชนวัว สนามวัวชนก็ยังถูกใช้เป็นเครื่องมือ ในการเชื่อมกลุ่มผลประโยชน์เข้าด้วยกัน เพื่อโยงไปหาผลประโยชน์แอบแฝงอีกทอดหนึ่งด้วย เป็นต้นว่า ฐานคะแนนนิยมทางการเมือง
    * เรามักจะเห็นวัวชนต่อเมื่อมันถูกจูงเข้าบ่อน หรือยามออกเดินถนนกับคนเลี้ยง ตามสถานะความสัมพันธ์ระหว่างวัวชน กับคนเลี้ยงหรือเจ้าของ ทว่าระหว่างหัวเชือกทั้งสองข้าง คือในมือคนจูงวัวข้างหนึ่งกับจมูกวัวข้างหนึ่ง ยังประกอบด้วยสายสัมพันธ์แวดล้อมอื่น ๆ ที่มองไม่เห็นของ "สังคมชนวัว" 
    * นับตั้งแต่ครอบครัวคนเลี้ยงวัว, เถ้าแก่ (นักธุรกิจ) เจ้าของวัว, นายสนามชนวัว, ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดชนวัว, นักพนัน, พ่อค้าแม่ค้า, คนให้เช่าที่พักวัว, ผู้อุปถัมภ์สนาม, นักการเมืองท้องถิ่น เป็นกลุ่มเครือข่าย เป็นย่านใยวัฒนธรรมการชนวัว ทั้งในและนอกบ่อน-- เป็นกลไกโครงสร้างส่วนที่มีความแข็งแกร่ง ยึดโยงกันเหนียวแน่นในแวดวงตัวเอง
    * เชือกเส้นนี้ยังอาจหมายรวมถึงขนบนิยมว่าด้วยการเสี่ยงสู้ ความต้องการเอาชนะ ไว้เหลี่ยมไว้เชิง แม้ไม่ได้เปรียบ ก็ไม่ยอมเสียเปรียบของคนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาศัยวัวชนเป็นตัวแทน
    * คติหรือตาหนาจากสภาพแวดล้อมในสังคมชนวัวสอนให้รู้ว่า หากต้องการเอาชนะจะต้องเลี้ยงวัวชนในสถานะหุ้นส่วนของชีวิต ถ้าปล่อยปละละเลยจะไม่มีทางกำชัยชนะได้เลย
ส า ร ค ดี พิ เ ศ ษ
(คลิกดูภาพใหญ่) หัวเชือกวัวชน สัมพันธ์หลากหลายในสายเชือก
    สารคดีซึ่งเรียบเรียงจากงานวิจัยเนื้อหาเข้มข้น ถึงลูกถึงคน และโด่งดังที่สุดในรอบปี
   
ไม่เพียงแต่ต้องการตอบคำถามว่า เหตุใดในงานบุญเดือนสิบของนครศรีธรรมราช วัวชนกว่า ๒๐๐ ตัวจากทั่วภาคใต้จึงไปรวมกันเพื่อประกบคู่ชนตลอดเจ็ดวัน และมีการจัดชนวัวหมุนเวียนกันไปในแต่ละอำเภอแทบทุกสัปดาห์ตลอดทั้งปี พนันขันต่อเป็นเงินนับสิบล้านบาท
    ที่น่าสนใจกว่านั้นก็คือ การค้นหาคำตอบว่า คนกับวัวซึ่งเป็นสัตว์ต่างสถานะ แต่มีเหตุปัจจัยใดที่ทำให้คนต้องปรับตัวเองเข้าหาวัวอย่างมีฉันทะ วิริยะ ตัวอย่างเช่น กางมุ้งให้วัว ป้อนหญ้า พาเดินออกกำลัง และถึงกับต้องกินนอนอยู่ข้างวัวนานนับเดือน

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


(คลิกดูภาพใหญ่) เหตุเกิดที่ประจวบคีรีขันธ์ วันที่ "โรงไฟฟ้า" มาเยือน
   
ขณะที่เครือข่ายอุตสาหกรรมถ่านหินระดับโลก กำลังเดือดร้อนจากการที่ลูกค้าในซีกโลกตะวันตก เริ่มปฏิเสธการใช้ถ่านหิน ในเมืองไทย ภายใต้ภาวะที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ กำลังเผชิญกับปัญหา "กำลังผลิตสำรองเกินความต้องการ ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย" โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน อย่างน้อยสองแห่ง กลับผ่านการพิจารณาจากภาครัฐ และเตรียมการก่อสร้าง โดยไม่หวั่นไหวกับกระแส "ไม่เอาโรงไฟฟ้า/มึงสร้างกูเผา" ที่คุกรุ่นอยู่ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยเฉพาะที่บ้านบ่อนอกและบ้านกรูด อันเป็นพื้นที่ตั้งโครงการ
   
มาดูกันว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างกับชุมชนเล็ก ๆ ชายทะเลทั้งสองแห่งนี้ จากการมาถึงของโรงไฟฟ้า

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


(คลิกดูภาพใหญ่) ปีที่เจ็ดสิบสองของชีวิต : ประยูร อุลุชาฎะ
    ออกจะเป็นเรื่องแปลกที่ถึงวันนี้ เจ้าของรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาทัสนศิลป์ และรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง จากงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ อย่าง ประยูร อุลุชาฎะ กลับมีคนไม่มากนักรู้จักเขาในฐานะศิลปิน
   
หลายคนรู้จักเขามากกว่าในนาม น. ณ ปากน้ำ นักเขียนนักค้นคว้าศิลปะโบราณของไทย ที่จุดประกายความรักในศิลปะ และโบราณวัตถุสถานให้แก่คนหนุ่มสาวรุ่นต่อมาจำนวนไม่น้อย และขณะเดียวกัน คนอีกกลุ่มก็คุ้นเคยกับนาม "พลูหลวง" ผู้เชี่ยวชาญโหราศาสตร์อันดับต้น ๆ ของเมืองไทย--ประยูรถึงกับรำพึงว่า ที่เป็นเช่นนี้คงเพราะ ความไม่ซื่อสัตย์ต่อจิตวิญญาณศิลปินของตนเอง
    จะอย่างไรก็ตาาม ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า "ความไม่ซื่อสัตย์" นี้ ได้สร้างคุณูปการให้แก่วงการศิลปะและโบราณคดีไทยไว้อย่างอเนกอนันต์ 

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


Special Attractions
Cover : Sarakadee  No. 189 November 2000 Cover: On a collision course: two highly trained fighter bulls engage in a tossle. A local tradition as old as Nakhon Si Thammarat itself (the Tenth Month Festival being an occasion for the town's most famous bull fighting event), bull fighting is now prevalent across the entire country. Of course, the southern provinces of Thailand still boast a grand total of 22 locations for bull fighting. 
Click for Bigger The Sport of Bull Fighting

    Over the years, bull fighting has become more than a mere past time, particularly for the many men and women who have come to depend on the events for their livelihood. Those who are part of the "bullfighting community" have invested more than just time, money, and energy into the events. For the caretakers of the bull, the owner, the owner of the sporting field, those involved in setting up a bullfighting event, the gamblers, the owner of the training camp for the bulls, the benefactor of the games, and even the local politicians, the games have become a precious expression of their passion for living life...

Click Here to Continue Continue: click here


Click to Bigger The Future of Coal-generated Power in Prachuap Khiri Khan ?

    Imagine being subjected to 400,000 tons of ash per year, 48.6 thousand tons of sulfur-dioxide and nitrogen-oxide per year, 23.1 million tons of carbon-dioxide per year, and 7.3 million tons of carbon-monoxide per year, in the concentrated neighborhood of your small town. That is exactly what would happen to the local residents of Baunauk, Hinkrud, and Tabsakae, should the coal-generated power plants due to be constructed in those areas successfully bypass their active protests. So far, the consistent protesting has forced the delay of the construction of these power plants... but for how long?

Click Here to Continue Continue: click here


Click to Bigger Ukiyoe, Japan at the Height of Isolation

    Japan during the Tokugawa Shogunate (1603 - 1868) was forcibly and effectively sealed off from outside influences for a peaceful 250 plus years. During this Edo Period - Edo referring to what will later be known as Tokyo and what was then the central power base of the Shogunate - the country flourished, as did a distinguished, indigenous artistic style. From the end of the 17th century until the Meiji Restoration in 1868, the Ukiyoe was the most favored artistic style in Japan, and to this day considered most representative of Japanese art.


Click to Bigger Prayura Uluchadha: Reflecting Upon 72 Years

    Prayura Ulachadha's artistic works and awards barely necessitate mention, for as one of Thailand's most-senior contemporary artists, he is a man whose name and works precede him. What can be garnered from a reflection of his personal life however, does warrant recognition, particularly because so few have been able to interpret it. Through its ups and downs, Prayura has lived life in dedication to the search for truth in art, endowing upon society not only many beautiful pieces currently found at the National Museum, but also displaying for the world, a splendid and passionate effort, through adversity, for life.

Click Here to Continue Continue: click here


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
เพื่อนหมู ใครเป็นใคร ?

"เพื่อนหมูฯ"

ซ อ ง คำ ถ า ม
บริษัทมหาชน
ตัวอักษร ว ที่ป้ายข้างทางรถไฟ
ผักออร์กานิก
กรุงเทพฯ มีกี่เขต
โครงเหล็กบนสะพานพุทธมีไว้ทำไม



ประกาศผล การประกวด บทความ "ทำไมไอน์สไตน์ จึงสมควรได้รับการยกย่อง ให้เป็นบุคคล แห่งศตวรรษที่ ๒๐ ประกาศผล การประกวด บทความ
"ทำไมไอน์สไตน์ จึงสมควรได้รับการยกย่อง ให้เป็นบุคคล แห่งศตวรรษที่ ๒๐